Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง, นางสาว ณิชกานต์ แสงเทพ ม.4/2 เลขที่14 - Coggle…
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ลีลาในการแต่งคำประพันธ์
สัลลาปังคพิสัย
เป็นลีลาที่กวีใช้ถ้อยคำหรือแสดงความโศกเศร้า หวนไห้ อาลัยอาวรณ์ พร่ำเพ้อ
พิโรธวาทัง
แสดงความโกรธขุ่นเคือง เยาะเย้ย เหน็บแนมซึ่งกัน
นารีปราโมทย์
เป็นลีลากวีที่ใช้ถ้อยคำแสดงความรักใคร่ เกี้ยวพาราสีกัน
เสาวรจนี
เป็นลีลาที่กวีใช้ถ้อยคำชมความงามของตัวละคร และสถานที่
เสียงในการแต่งคำประพันธ์
สัมผัสสระ
เช่น แต่เรรวนหวนนึกตรึกตรา
สัมผัสอักษร
เช่น รีบรัดจัดไว้ให้ครบครับ
การเล่นคำพ้องเสียง
เช่น เบญจวรรณจับวัลย์ชาลี
คุณค่าด้านเนื้อหา
เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูก รักและตามใจทุกอย่าง แม้นกระทั่งตัวตายก็ยอม
ฉากตอนศึกกะหมังกุหนิงจะปรากฎฉากรบที่ชัดเจน มีการตั้งค่าย การใช้อาวุธ และการต่อสู้ของตัวละครสำคัญ
ปมปัญหาในเรื่องเป็นเรื่องที่อาจเกิดได้ในชีวิตจริงและสมเหตุสมผล
เช่น ท้าวกุเรปันให้อิเหนาอภิเษกกับบุษบา แต่อิเหนาหลงรักจินตะหราไม่ยอมอภิเษกกับบุษบา
คุณค่าด้านสังคม
พิธีกรรม ปรากฏอยู่ในเรื่องอิเหนาตอนที่เรียน เช่นพิธีเบิกโขนลทวาร
การแต่งตัวตามวันมงคล ปรากฏอยู่ในเรื่องอิเหนาตอนที่เรียน เช่น ตอนที่กะหรัดตะปาตีแต่งตัวก่อนยกทัพไปทำศึก
เรื่องบุญกรรม เช่นอิเหนาลานางจินตะหราเพื่อไปช่วยรบเมืองดาหา
ข้อคิด
การเอาแต่ใจตนเอง อยากได้อะไรเป็นต้องได้การกระทำเช่นนี้จะทำให้เกิดปัญหามากมายตามมา
เราควรจะต้องรู้จักควบคุมตนเอง เพราะเมื่อเวลาเราโมโห เราจะขาดสติยั้งคิด
เวลาที่เรามีปัญหาเราควรจะใช้เหตุผลในการแก้การแก้ไขปัญหา
เราก็ควรรู้จักประมาณตนเองบ้าง ใช้ชีวิตไปกับสิ่งที่คู่ควรกับตนเอง
ประวัติความเป็นมา
ชาวชวาได้แต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้พระราชนิพนธ์ขึ้นมาใหม่ทั้งหมด
ตัวละครสำคัญ
อิเหนา
โอรสของท้าวกุเรปันเจ้าชู้ มีความเชี่ยวชาญในการใช้กริชและกระบี่เป็นอาวุธ
ท้าวดาหา
กษัตริย์ผู้ครองกรุงดาหา หยิ่ง ใจร้อน รักษาสัจจะ
บุษบา
เป็นธิดาของท้าวดามารยาทเรียบร้อย คารมคมคาย เฉลียวฉลาด
วิหยาสะกำ
เป็นลูกของท้าวกะหมังกุหนิงเอาแต่ใจตน ลุ่มหลงในรูปรสภายนอก
ท้าวกุเรปัน
กษัตริย์ผู้ครองกรุงกุเรปัน ถือยศศักดิ์ไม่ไว้หน้าใคร ไม่เกรงใจใคร
ระตูปาหยัง
ครองนครปาหยัง ระตูปาหยังได้ช่วยพระเชษฐาในศึกกะหมังกุหนิง
มาหยารัศมี
เป็นธิดาของระตูปักมาหงันเรียบร้อยไม่เห่อเหิมทะเยอทะยาน
ความสุนทรีย์
เห็นถึงสังคมและวัฒนธรรม
เช่น ความเชื่อเรื่องคำทำนาย ที่ท้าวกะหมังกุหนิงให้โหรามาทำนายก่อนยกทับไปเมืองดาหา
ใช้ถ้อยคำไพเราะ กินใจ
เช่น การใช้อุปมา "เราเป็นเมืองน้อยกระจิดริด ดังหิ่งห้อยเเข่งเเสงอาทิตย์
บรรยายและพรรณาความ
เช่นการบรรยายถึงป่าเขาเกี่ยวกับพันธุ์ไม้และสัตว์ต่างๆ ทำให้เห็นภาพชัดเจน
ลักษณะคำประพันธ์
กลอนบทละคร ลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพ แต่ละวรรคมักจะขึ้นต้นด้วยคำว่า “เมื่อนั้น”“บัดนั้น” และ “มาจะกล่าวบทไป”
ผู้เเต่ง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ ๒
ใช้สำหรับ
แสดงละครใน
นางสาว ณิชกานต์ แสงเทพ ม.4/2 เลขที่14