Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสีรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
พยาธิสีรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
โรคของช่องปาก
ความพิการแต่กำเนิด
Hare Lip and Cleft palate
โรคปากแหว่งเพดานโหว่ เกิดได้ตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา ในช่วงเดือนที่ 2 และเดือนที่ 3 เกิดความผิดพลาดในการสร้างอวัยวะได้แก่ ปากและเพดานปาก
ปากแหว่ง ด้านบนของริมฝีปากในจะเกิดช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า ปากแหว่งไม่สมบูรณ์ หรือปากแหว่งบางส่วน ถ้ารอยแยกต่อไปถึงจมูกเรียกว่า ปากแหว่งสมบูรณ์
สาเหตุ : การเชื่อมของขากรรไกรบนและจมูกด้านใกล้กลางเป็นเพดานปากปฐมภูมิไม่สมบูรณ์
เพดานโหว่ แผ่นกระดูกกะโหลกศีรษะที่ประกอบเป็นเพดานแข็ง 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน มีลิ้นไก่แฉก
สาเหตุ : ความบกพร่องของการเชื่อมเพดานปากด้านข้าง, ผนังกลางจมูก หรือเพดานปากกลางเป็นเพดานปากทุติยภูมิไม่สมบูรณ์
ชนิดสมบูรณ์ คือ มีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน หรือขากรรไกรด้วย
ชนิดไม่สมบูรณ์ คือ มีช่องอยู่ที่เพดานปาก เป็นที่เพดานอ่อน
การอักเสบ
Gingivitis
เศษอาหารสะสม หรือหินปูนพอกที่ฟัน ทำให้ Bacteria เจริญได้ดี
Periodonitis
เป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อที่อยู่รอบฟัน เกิดที่เหงือกก่อน แล้วลุกลามทำลายเนื้อเยื่อ
อักเสบเรื้อรังทำให้เหงือกร่น (Gingival recession)
Dental caries
รอยโรคที่ทำลายสาร enamel และ dentine
โรคแทรกซ้อน คือ Osteomyelitis และ Cellulitis
Recurrent herpes labialis
เกิดจาก herpes simplex virus ระยะแรกเป็น vesicle เล็กๆ ที่ mucocutaneous junction ริมฝีปาก ต่อมาเป็นแผล และมี secondary infection
Aphthous ulcer (Canker sore)
เป็นแผลตื้น แผลเดียวหรือหลายแผลพร้อมกัน คลุมด้วย exudate สีเทา รอบแผลเป็นสีแดง
หายภายใน 1 สัปดาห์
Oral candidiasis (Thrush)
เกิดจากเชื้อรา Candida albicans บริเวณที่อักเสบจะคลุมด้วย fibro-suppurative exudate ที่มีเชื้อราปนอยู่
Tonsillitis
Acute tonsillitis เกิดจากเชื้อ Streptococcus Staphylococcus
tonsil บวมโต มี exudate สีขาวคลุมที่ผิว
ภาวะแทรกซ้อน คือ Peritonsillar abscess
Chronic hypertrophic tonsillitis
เกิดจากการอักเสบของ tonsil เป็นๆหายๆ
tonsil มีขนาดใหญ่กว่า 2 ซม. เพราะมี lymphoid hyperplasia
โรคของต่อมน้้ำลาย
Mumps
เกิดการติดเชื้อไวรัสกลุ่ม Paramyxovirus
การอักเสบแบบ acute interstitial inflammation ติดต่อทางน้้ำลาย เสมหะ พบในเด็กอายุ 5-10ปี
ผู้ชายจะมีอัณฑะอักเสบ (Orchitis) ผู้หญิงจะมีรังไข่อักเสบ(Oophoritis) และเยื่อหุ้มสมองหรือสมองอักเสบร่วม (Meningoencephalitis)
โรคของหลอดอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Esophageal atresia
ภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดอาหาร
Esophageal stenosis
ภาวะที่บางส่วนของหลอดอาหารตีบ
Achalasia
จำนวน myenteric ganglion cell ในผนังหลอดอาหารที่ควบคุมการหดตัวบีบไล่อาหารมีจานวนลดลงหรือไม่มี ทำให้กลืนอาหารลำบากและสำลักในเวลากลางคืน
หลอดอาหารส่วนบนจะมีผนังบางและโป่งออก
Esophageal varices
หลอดเลือดดำโป่งพองบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง ทำให้เกิดผนังเส้นเลือดบางลง ง่ายต่อการฉีกขาดหรือแตก และมีเลือดออก
สาเหตุ: ที่ทำให้เกิดเลือดออก คือ cirrhosis หลอดเลือดดำมีลักษณะคดเคี้ยว จาก portal hypertension ทำให้เกิดแผล
โรคของกระเพาะอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Diaphragmatic hernia
พบทางเดินอาหารอยู่ในทรวงอก
Congenital pyloric stenosis
การตีบตันของ pyloric เกิดจากการหนาตัวของกล้ามเนื้อของ pylorus
ความผิดปกติของกระเพาะอาหาร
Gastritis
การอักเสบของ gastric mucosa จากสารระคายเคืองและกลไกป้องกันบกพร่อง
ชนิดกระเพาะอาหารอักเสบ
Acute gastritis
สาเหตุ : ระคายเคืองจาก อาหาร ยา แอลกอฮอล์ การติดเชื้อ
พยาธิสภาพเริ่มจากมีเลือดคั่งและบวมของเยื่อบุกระเพาะอาหาร พบรอยโรคเรียก acute hemorrhagic erosive gastritis
Chronic gastritis
สาเหตุ : การท้นกลับน้้ำดี, การระคายเคืองเรื้อรัง, การดื่มเหล้า ยา ASA. การติดเชื้อ Helicobacter pylori
รอยโรค : แผลเป็น→เลือดออก→แผลในกระเพาะอาหาร
Peptic ulcer
เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย และเกิดแผลบริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร
ตำแหน่งพบ เช่น หลอดอาหารส่วนล่าง, กระเพาะอาหาร, ลำไส้เล็กส่วนต้นที่ติดกับกระเพาะอาหาร
สาเหคุ : เกิดจากเสียสมดุลระหว่างปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหารกับความต้านทานต่อกรด
โรคกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน (Acute ulcer) เป็นแผลตื้นไม่ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร เป็นแผลหลายจุด เกิดขึ้นเป็นครั้งคราวและหายเองประมาณ 6 สัปดาห์ พบมากในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดหรือมีโรคติดเชื้อรุนแรง
โรคกระเพาะอาหารแบบเรื้อรัง (Chronic peptic ulcer) เป็นแผลลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร เป็นแผลเรื้อรัง ขอบแผลนูนบวม เมื่อแผลหายจะเกิดรอยแผลเป็น แบ่งเป็น 2 ชนิด
แผลที่กระเพาะอาหาร (Gastric ulcer) เป็นแผลที่พบได้ทุกส่วนของกระเพาะอาหาร พบมากในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป
สาเหตุ : เกิดจากความสามารถในการป้องกันกรดและเปปซินของกระเพาะอาหารลดลงทาให้เกิดแผลง่าย
แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น (Duodenal ulcer) เป็นแผลเกิดที่บริเวณลำไส้เล็กส่วนต้น พบในทุกวัย โดยเฉพาะคนที่มีความเครียดสูง อารมณ์แปรปรวน และมีความวิตกกังวลมาก มีพฤติกรรมการดื่มสุรา และสูบบุหรี่
สาเหตุ : เกิดจากการหลั่งกรดมากขึ้น
Peptic ulcer perforate
น้ำย่อยมีฤทธิ์เป็นกรด เมื่อกระเพาะทะลุกรดในกระเพาะจะหลั่งออกมาในช่องท้อง ทำให้เยื่อบุช่องท้อง peritoneum อักเสบ เรียก ช่องท้องอักเสบ (peritonitis)
มีอาการปวดท้องมาก หากไม่ได้รับการรักษาจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน และเสียชีวิตได้
สาเหตุ : การติดเชื้อ Helicobacter pylori, การใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID
โรคของลำไส้เล็ก
ความพิการแต่กำเนิด
Congenital atresia
ภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของลำไส้เล็ก
Congenital stenosis
ภาวะที่บางส่วนของลำไส้เล็กตีบ
Intussusception
ภาวะที่ลำไส้เล็กส่วนต้นถูกกลืนด้วยลำไส้เล็กส่วนปลาย ส่วนที่กลืนเรียก intussuscipien ส่วนที่ถูกกลืนเรียก intussusceptum
พบในเด็กเล็ก โดยเฉพาะเด็กผู้ชาย
Intestinal adhesion
การที่ลำไส้ติดกับอวัยวะส่วนอื่น ทำให้มีการดึงรั้งลำไส้ สารผ่านไม่สะดวก เป็นมากทำให้ลำไส้อุดตันได้
สาเหตุ : เกิดจากการอักเสบหรือหลังการผ่าตัดในช่องท้อง
Intestinal obstruction
ภาวะที่สิ่งต่างๆในลำไส้ไม่เคลื่อนผ่านลำไส้ได้ตามปกติ ทำให้เกิดอาการแน่นท้อง อึดอัด ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน และไม่ผายลม
สาเหตุ : ลำไส้ไม่บีบตัวขับสิ่งต่างๆในลำไส้ตามปกติ เรียก “ภาวะลำไส้อืด (Paralyticileus) หรือ Non mechanical obstruction” หรือเกิดจากทางเดินในลำไส้ตีบแคบ อุดตันทั้งหมด เรียก “ลำไส้ตีบตัน (Mechanical obstruction)”
โรคของลำไส้ใหญ่
ความพิการแต่กำเนิด
Hirschsprung’s disease or Congenital megacolon
พบในเพศชาย
พบที่ rectum และ sigmoid colon
ไม่มี ganglion cell ใน colon จึงไม่มี peristalsis ทำให้สารผ่านไม่ได้ Colon ที่อยู่เหนือกว่ามีผนังหนาและพองออก
Imperforate anus
เนื้อเยื่อที่แยกระหว่าง rectum กับ Anus ที่ควรหายไปยังคงอยู่ ทำให้เกิดภาวะลำไส้อุดตัน
Diverticular disease
mucosa ยื่นเป็นติ่งออกไปจาก muscle layer ของผนัง colon
พบในผู้สูงอายุที่รับประทานอาหารที่มีกากใยอาหารน้อย,ไม่ออกกาลังกาย ทำให้เกิดการหนาตัวของกล้ามเนื้อรอบๆติ่ง→เพิ่มแรงดัน →ติ่งแตก →abscess, peritonitis
Hemorrhoid
ริดสีดวงทวาร เกิดจากกลุ่มเส้นเลือดและ เนื้อเยื่อ บริเวณส่วนปลายของลำไส้ตรงโตขึ้น ที่เรียกว่า hemorrhoidal tissue
hemorrhoidal tissue มีหน้าที่ ป้องกันกล้ามเนื้อทวารหนัก รวมทั้งหูรูด ระหว่างถ่ายอุจจาระ และช่วยให้ทวารหนักปิดสนิทในขณะอยู่เฉย
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณนั้น
เกิดจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดดำนานๆ เช่น การเบ่งอุจจาระบ่อยๆ การยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ทำให้เลือดไหลกลับไม่สะดวก
ความผิดปกติของตับ
Jaundice
ระดับ bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติสองเท่า
อาการ ผิวหนัง ตาขาวเหลือง
สาเหตุ
มีการแตก RBC เพิ่มขึ้น
ความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ bilirubin
ลดการ conjugation ของ bilirubin
การอุดตันของทางเดินน้ำดีภายในและภายนอกตับ
Ascites
ท้องมาน เป็นการสะสมของเหลวในช่องท้อง
สาเหตุ
โรคตับเรื้อรัง
มะเร็ง
หัวใจขวาล้มเหลว
ตับอ่อนอักเสบ
nephrotic syndrome
มีการรบกวนการไหลเวียนเลือดจาก liver สู่ hepatic vein และ vena cava
ภาวะ albumin ต่ำ
การหลั่ง ADH สูง,Aldosterone สูง
Portal hypertension)
ภาวะความดันเลือดสูงในเส้นเลือดดาพอร์ตัล
สาเหตุ
การอุดตันที่เกิดในเส้นเลือดพอร์ตัล (Prehepatic block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในตับส่วน sinusoids (Intrahepatic sinusoidal block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในเส้นเลือดดาเฮปพาติก (Posthepatic block)
การเกิด Portal hypertention ระยะยาวทำให้เกิดปัญหา
Varices (หลอดเลือดโป่ง)
splenomegaly (ม้านโต)
ascites (ท้องมาน)
hepatic encephalopathy (โรคสมองจากโรคตับ)
Hepatitis
การอักเสบของตับจากการติดเชื้อ virus หรือ ปฏิกิริยาจากยาและสารเคมี มีการทำลาย parenchymal cell และ transaminases (SGOT, SGPT) ปล่อยเข้ากระแสเลือด
Viral hepatitis
Drug induce hepatitis
Alcohol hepatitis
ง
Cirrhosis
ความผิดปกติของตับที่เกิดจากการอักเสบ fibrosis และ nodular regeneration ทำให้ผิดปกติทั้งโครงสร้างและหน้าที่ของตับ ตับจะมีรูปร่างบิดเบี้ยว คลำพบเป็นก้อนแข็ง ทำให้เกิดการอุดตันทางเดินน้้ำดี เกิด portal hypertention
Disorders of the gall bladder
โรคในระบบทางเดินน้้ำดีที่พบบ่อย ได้แก่
การอุดตันและการอักเสบ
Gallstones
นิ่วในทางเดินน้้ำดี คือ นิ่วที่เกิดขึ้นและอยู่ในทางเดินน้้ำดี พบในถุงน้้ำดีหรือท่อน้้ำดีก็ได้ เรียก Cholelithiasis
Choledocholithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีร่วมกับการอักเสบของท่อน้้ำดี (Cholangitis)
hepatolithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีภายในตับ มีแคลเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก มีสีน้้ำตาล เรียก Brown pigment stones
Cholecystitis
การอักเสบของถุงน้้ำดีจากโรคนิ่วในถุงน้้ำดี
ก้อนนิ่วจะอุดตันท่อน้้ำดี ทำให้น้้ำดีไหลออกจากถุงน้้ำดีเข้าลำไส้ไม่ได้ ความดันในถุงน้้ำดีสูงขึ้น ไปกดเบียดหลอดเลือดต่างๆที่เลี้ยงถุงน้้ำดี ถุงน้้ำดีจึงขาดเลือด เนื้อเยื่อถุงน้้ำดีเกิดการอักเสบ
นิ่วในทางเดินน้ำดี แบ่งเป็น 2 ชนิด
นิ่วที่ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล (Cholesterol stones) พบประมาณ 80% เป็นก้อนสีขาว เหลือง หรือเขียว เกิดจากการมี Cholesterol เพิ่มขึ้นในน้้ำดี หรือการบีบตัวของกล้ามเนื้อในถุงน้าดีมีเสื่อมสมรรถภาพจึงบีบสารออกไม่หมด
กลไกการเกิด
1.1 การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนความเข้มข้นในน้้ำดี
1.2 การไม่เคลื่อนที่ของน้้ำดี
นิ่วที่ประกอบด้วยบิลิรูบิน (Pigment or bilirubin stones) มีขนาดเล็กกว่าและมีสีคล้ากว่า พบในผู้ป่วยโรคตับแข็งหรือผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของเลือด
กลไกการเกิด มี unconjugated bilirubin เพิ่มมากขึ้นในน้้ำดี เนื่องจากมีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ หรือมีการอักเสบของถุงน้้ำดีและท่อน้้ำดีเรื้อรัง
ความผิดปกติของตับอ่อน
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis)
สาเหตุ
1.1 เกิดจากท่อในตับอ่อนบาดเจ็บหรือแตก น้้ำย่อยจากตับอ่อนจะย่อยเนื้อเยื่อตนเอง
1.2 การอุดตันทางเดินน้้ำดี ทำให้น้้ำดีไหลเข้าตับอ่อน
1.3 แอลกอฮอล์ ทำให้ตับอ่อนหลั่งน้้ำย่อยมากขึ้น และทำให้ Oddi sphinctor หดเกร็ง
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง (Chronic pancreatitis) แบ่งเป็น 2 ชนิด
2.1 Chronic calcifying pancreatitis
พบในผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง
2.2 Chronic obstructive pancreatitis สัมพันธ์กับการตีบของ Oddi sphinctor
สาเหตุ : สัมพันธ์กับการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ รับประทานอาหารมัน ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง การอุดตันท่อในตับอ่อนเป็นเวลานาน