Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินอาหาร Gastrointestinal disease - Coggle…
โรคระบบทางเดินอาหาร
Gastrointestinal disease
โรคของช่องปาก
ความพิการแต่กำเนิด
โรคปากแหว่งเพดานโหว่
Hare Lip and Cleft palate
สามารถเกิดตั้งแต่ทารถอยู่ในครรภ์มารดาในช่วงเดือนที่ 2 และเดือนที่ 3 ของการตั้งครรภ์
ปากแว่ง
เกิดที่ด้านบนของริมฝี ปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆปากแว่งไม่สมบรูณ์
สาเหตุจากการเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลางเพื่อเพดานปากปฐมภูมิไม่สมบูรณ์
เพดานโหว่ง
ภาวะแผ่นกระดูกของกระโหลกศีรษะที่เป็นเพดานแข็ง 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน
สาเหตุจากความบกพร่องของการเชื่อมของส่วนยื่นเพดาน
ปากด้านข้าง , ผนังกลางจมูก ,เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ
สมบูรณ์
มีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อนบางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรได้
ไม่สมบูรณ์
มีช่องอยู่ที่เพดานปากมักเป็นเพดานที่อ่อน
โรคของฟัน
Gingivitis
เศษอาหารหมักหมมหรือหินปูนพอกอยู่ที่ฟัน
ทำให้ Bacteria เจริญได้ดี
เกิดการอักเสบ
Periodonitis
เป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อที่อยู่รอบฟัน
มักเกิดที่เหงือกก่อน แล้วลุกลามทำลาย tissue
ถ้าอักเสบเรื้อรัง อาจทำให้เหงือกร่น (Gingival recession)
Dental caries
รอยโรคที่มีการทำลายสาร enamelและdentine
โรคแทรกซ้อนที่สำคัญ คือ Osteomyelitis และ Cellulitis
Recurrent herpes labialis
เกิดจาก herpes simplex virus
ระยะแรกเป็ น vesicle ขนาดเล็ก ที่ mucocutaneous junction ของริมฝี ปาก
ต่อมาแตกเป็ นแผล และอาจมี secondary infection
ร่างกายมีความต้านทานลดลง จะเกิดรอยโรคซ้ำบริเวณเดิม
Aphthous ulcer (Canker sore)
เป็นแผลที่เกิดซ้ำในช่องปาก
เป็นแผลตื้นแผลเดียวหรือหลายแผลพร้อมกัน
คลุมด้วย exudate สีเทาและรอบๆเป็นสีแดง
Oral candidiasis (Thrush)
เกิดจากเชื้อรา Candida albicans
พบในเด็กที่มีภูมิต้านทานต่ำ
บริเวณอักเสบจะคลุมด้วย fibro-suppurative exudate ที่มีเชื้อราปนอยู่
Tonsillitis
เกิดจากเชื้อ Streptococcus Staphylococcus
พบ tonsil บวมโต มี exudate สีขาวปลุกคลุมอยู่ที่ผิว
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ Peritonsillar Abscess
โรคของต่อมน้ำลาย
Mumps
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส กลุ่ม Paramyxovirus
เป็นการอักเสบแบบ acute interstitial inflammation
ติดต่อกันโดยทางน้ำลาย เสมหะ
ผู้ชายอาจมีอัณฑะอักเสบ
ผู้หญิงอาจมีรังไข่อักเสบ
อาจมีเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบร่วมด้วย
(Meningoencephalitis)
โรคของหลอดอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Esophageal atresia เป็นภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดอาหาร
Esophageal stenosis เป็นภาวะที่บางส่วนของหลอดอาหารตีบ
Achalasia
จำนวน myenteric ganglion cell ในผนังหลอดอาหารที่ทำหน้าที่ควบคุมการหดตัวเพื่อบีบไล่อาหารมีจำนวนลดลง
กลืนอาหารลำบากและสำลัก โดยเฉพาะเวลากลางคืน
หลอดอาหารส่วนบนจะมีผนังบางและโป่งออก
ลอดเลือดดำโป่งพองบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง
ทำให้เกิดผนังของเส้นเลือดบางลงง่ายต่อการฉีกขาดหรือแตกและมีเลือดออก
สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเลือดออก คือ cirrhosis
โรคของกระเพาะอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Diaphragmatic hernia ทำให้พบส่วนที่เป็นทางเดินอาหารอยู่ในมรวงอกได้
Congenital pyloric stenosis
Gastritis
การอักเสบของ gastric mucosa จากสารระคายเคืองและความบกพร่องกลไกป้องกัน
mucosa เกิดอันตรายต่อเส้นเลือด→บวม →เลือดออก →รอยถลอก →เสี่ยงเป็นมะเร็ง
Acute gastritis
สาเหตุ ระคายเคืองจาก อาหาร ยา แอลกอฮอล์ การติดเชื้อ
พยาธิสภาพ เริ่มจากอาการเลือดคั่งและบวมของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
อาจพบรอยโรคเรียก acute hemorrhagic erosive gastritis
Chronic gastritis
การท้นกลับน้ำดี,การระคายเคืองเรื้อรัง การดื่มเหล้า
รอยแผลเป็น→ลุกลามเลือดออก แผลในกระเพาะอาหาร
Peptic ulcer
ภาวะที่เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลายและเกิดแผลบริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร
พบได้ทุกคน
เกิดจากความเสียสมดุลระหว่างปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหารกับความต้านทานต่อกรด
Acute ulcer
เป็นแผลตื้นไม่ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
Chronic peptic ulcer
เป็นแผลลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
แผลที่กระเพาะอาหาร Gastric ulcer)
สาเหตุมักพบเกิดจากความสามารถในการป้องกันกรดและเปปซินของกระเพาะอาหารลดลงทำให้เกิดแผลได้ง่าย
แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น Duodenal ulcer
สาเหตุจากการหลั่งกรดที่มากขึ้น
มีแผลเกิดบริเวณลำไส้เล็กส่วนต้น
Peptic ulcer perforate
น้ำย่อยในกระเพาะอาหารมีฤทธิ์เป็นกรดเมื่อกระเพาะทะลุกรดในกระเพาะจะหลั่งออกมาในช่องท้อง
มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรงหากไม่รักษาอาจมีโรคแทรกซ้อนจนเกิดการเสียชีวิตได้
พบมากที่สุด ได้แก่
การติดเชื้อ Helicobacter pylori
การใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID