Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 ระบบสุขภาพกับเศษฐศาสตร์, นางสาวรัตนวรรณ จันทร์สม เลขที่56 1A,…
บทที่4 ระบบสุขภาพกับเศษฐศาสตร์
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศษฐศาสตร์สาธารณะสุขเพื่อการจัดการบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน
ช่วยในการจัดการด้านกําลังคนด้านสุขภาพ
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ
เข้าใจแผนงบประมาณและนํามากําหนดนโยบาย
องค์ประกอบและคําถาม
สุขภาพ
คําถามด้านสุขภาพ
มีการเปรียบเทียบให้คุณค่าอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าทั่วไป
สุขภาพคืออะไร
สุขภาพวัดได้อย่างไร
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
คําถามด้านจัดระบบบริการสุขภาพ
มีระบบการทําอย่างไร
ปัจจัยและวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต
การดําเนินการทางด้านการรักษาพยาบาล
คําถามด้านการคลังสาธารณสุข
ความจําเปนและอุปสงค์
ผู้ปวยควรจ่ายเท่าไหร่
โรงพยาบาลควรจะคิดเท่าไหร่
ผลิตอะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพือใคร
คําถามด้านการจัดสรรทรัพยากรสาธารสุข
ต้นทุน
ประโยชน์และนโยบาย
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
สังคมศาสตร์ + วิทยาสาตร์สุขภาพ = เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
ทรัพยากรสุขภาพมีจํากัด
เกิดความขาดแคลน
แก้ปัญหาการขาดแคลนคือตัดสินใจหาทางเลือก
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรมในการจัดบริการสุขภาพ
ความต้องการของมนุษย์ไม่จํากัด
เกิดความขาดแคลน
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
ยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชน
จุดมุ่งหมายหลักไม่ใช่การแสวงหากําไรสูงสุด
เพือกระจายรายบริการให้ทั่วถึง
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์ระดับมหาภาค
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค
ศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมของผู้รับบริการ ผู้ให้บริการ และของในตลาดสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
ไม่อนุญาตให้มีกลไกตลาด
รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพ
ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียม
ประชาชนไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง
รัฐมีบทบาทในระบบสุขภาพมาก
ประชาชนทุกคนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุม
ภายใต้เงื่อนไขของประเทศ
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
รัฐมีส่วนรับผิดชอบเรื่องสุขภาพของประชาชน
รัฐเข้ามาแทรกแซงกลไกการตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลายๆทาง
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม
มีการจัดบริการสุขภาพนรูปแบบเอกชน
รัฐเข้ามาแทรกแซงน้อย
ระบบสุขภาพ
คือระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวลทีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ
องค์ประกอบด้านการจัดการสาธารณสุข
Excellence center tertiary
Secondary care
Primary Care
PHC
self care
การเข้าถึงบริการ
การยอบรับคุณภาพ
ความเพียงพอของบริการทีมีอยู่
การเข้าถึงแหล่งบริการ
ความสามารถในการจ่าย
ความสะดวกและสิงอํานวยความสะดวกของ
แหล่งบริการ
นางสาวรัตนวรรณ จันทร์สม เลขที่56 1A
รหัสนักศึกษา623601056