Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia ),…
ภาวะขาดออกซิเจน
(Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia )
กลไกการเกิด
การไหลเวยีนเลือดทางสายสะดือขดัขอ้ง มีการหยดุ ไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง เช่น สายสะดือถูกกดทับขณะเจ็บครรภ์หรือขณะคลอด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก ซ่ึงเกิดจากรกมีการแยกตวัออกจากมดลูก เช่น รก ลอกตัวก่อนกำหนด ( abruption placenta) รกมีเนื้อตาย(placenta infarction)
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
ปอดทารกขยายไม่เต็ม ที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่
สามารถปรับเป็นแบบทารกหลังคลอดได้และไม่พัฒนาเป็นแบบผู้ใหญ่
พยาธิสภาพ
ทารกขาดออกซิเจน
ออกซิจเนในกระแสเลืออดต่ำ
แรงดัน O2 ต่ำกว่า Co2
เลือดไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญ สมอง หัวใจ ต่อมหมวกไต
Capilary Blood Flow เลือดไปเลี้ยงในระบบทางเดินอาหาร อวัยวะส่วนปลายลดลง
kidney
เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน AKI
1 more item...
Heart
กระตุ้น Baroreceptor
1 more item...
NEC
Hypoxia ที่บริเวณมือ เท้า ตัวเย็น
หายใจโดยไม่ใช้ออกซิเจน
เกิดการสลาย glycogen
1 more item...
สมอง
จะทำให้ทารกซึมและไม่มีการตอบสนอง
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่า ปกติอัตราการเต้นของหวัใจทารกในระยะแรกจะเร็วมากกว่า 160คร้ัง/นาทีต่อมาจึงช้าลง
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงในปอด
การคลอกก่อนกำหนดเกิด RDS ส่วนทารกที่คลอดครบกำหนดจะเกิดภาวะ persistent pulmonary hypertention of the newborn (PPHN) การเปลี่ยนแปลงในปอดดังกล่าวทำให้ทารกมีอาการหายใจหอบ ตัวเขียว
การเปลี่ยนแปลงในระบบหัวใจ
และการไหลเวียนเลือด
การขาดออกซิเจนในระยะแรกร่างกายจะส่งเลือดไปเลี้ยงสมอง
หัวใจและต่อมหมวกไต ผิวซีด หายใจแบบ gasping มี
metabolicacidosis อุณหภูมิร่างกายต่ำลง ความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท
การสูญเสียกล้ามเนื้อ พบไดใ้นช่วงอายุ2-3 ชั่วโมงแรก
อาการชักมักเริ่มเห็นภายใน 12-24 ชั่วโมง
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติเป็นสิ่งที่แสดงถึงความรุนแรงในการขาดออกซิเจน
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร
ลำไส้จะบีบตัวแรงชั่วคราวทำให้
ทารกถ่ายขี้เทาขณะอยู่ในครรภ์มารดา ครบกำหนดเสี่ยงเกิดสำลักขี้เทา ถ้าก่อนกำหนดเกิด NEC
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ค่า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg,
PaO2 < 40mmHg, pH < 7.1
2) ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
3) ค่าของ calcium ในเลือดต่า กวา่ 8 mg%
4) ค่าของpotassium ในเลือดสูง
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ
ทารกจะมีปัสสาวะน้อยลงหรือไม่ถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
หลังจากขาดออกซิเจน ทารกมักจะเกิด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำแคลเซียมต่า และโปแตสเซียมสูง มีผลทำให้ทารกชักและเสียชีวิต
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR จะพบการเปลี่ยนแปลงตามลำดับ ดังนี้
สีผิว
อัตราการหายใจ เริ่มจากไม่สม่า
เสมอไปจนหยุดการหายใจ
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การให้ความอบอุ่น
ภาวะตัวเย็นของทารกจะทำให้ความเป็นกรดในเลือดหายช้ากว่าที่ควร จึงต้องป้องกันไม่ให้ร่างกายสูญเสียความร้อนโดยดูแลทารกภายใต้แหล่งให้ความร้อน(radiant warmer) หรือหลอดไฟที่เปิดอุ่นไว เช็ดผิวหนังทารกให้เเห้ง แลว้เอาผ้าเปียกออก ห่อตัวทารกด้วยผ้าอุ่นผืนใหม่ หรือวางทารกบนหน้าอกหรือหนา้ทอ้งของมารดาโดยให้ผิวหนังทารกสัมผัสสักผิวนังมารดาโดยตรง (skin to skin contact)
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airway)
กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ให้สูบลูกสูบยางแดงดูสิ่งคัดหลั่งออกให้หมดจากปากและจมูก
กรณีมีขี้เทาปน
ต้องรีบดูดขี้เทาออก
ทันทีที่ศีรษะทารกคลอด โดยใช้สายดูดเสมหะเบอร์ 12F-14F หรือใช้ลูกสูบยางแดงแล้วจึงทำ
คลอดลำตัวถา้ทารกไม่หายใจ ตัวอ่อน หัวใจเต้น ช้ากวา่ 100คร้ัง/นาทีใส่ endotracheal tube
การกระตุ้นทารก(tactile stimulation)
การเช็ดตัวและดูดเมือกจากปากและจมูกสามารถกระตุ้น ทารกให้หายใจได้อย่างดี ถ้าทารกยังไม่ร้องหรือหายใจไม่เพียงพอให้ลูบบริเวณหลัง หน้าอก
ดีดส้นเท้าทารก
การให้ออกซิเจน
ให้ออกซิเจน 100% ผ่าน Mask หรือ Bag เปิด 5 Lpm
การใช้ Ventilator
ข้อบ่งชี้
1) หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping
2) อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกวา่ 100คร้ัง/นาที
3) เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
การใส่ท่อหลอดลมคอ
ข้อบ่งชี้ คือ
1) เมื่อต้องช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกเป็นเวลานาน
2) เมื่อช่วยหายใจด้วย mask และ bag แล้วไม่ได้ผล
3) เมื่อต้องการดูดสิ่งคัดหลั่ง ในหลอดลมคอ กรณีที่มีขี้เทาปนเปื้อนน้ำคร่ำ
4) เมื่อต้องการนวดหัวใจ
5) ทารกมีไส้เลื่อนกระบังลม หรือน้ำหนักน้อยกว่า 1,000 กรัม
การนวดหัวใจ(Chest compression)
ใช้กรณีขณะที่ได้รับอกซิเจน 100% และการนวดหัวใจนานเกิน
การให้ยา (medication)
Epineprine ใช้เมื่อช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% และนวดหัวใจนานเกิน 30 วินาทีแล้วอัตราการเต้นของหัวใจยังคงน้อยกว่า 60คร้ัง/นาที
สารเพิ่มปริมาตร(volume expanders) ใช้เมื่อทารกมีภาวะ hypovolemic โดยให้น้ำเกลือนอร์มอล(NSS) หรือ Ringer’s lactateหรือ packed red cell ขนาด 10 มล./ก.ก. ในเวลา 5-10 นาที
Naloxone hydrochroride (Narcan) เป็นยาต้านฤทธิ์ยาเสพติดที่ไม่กดการหายใจ
การพยาบาล
เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการแสดงที่น่าสงสัยว่า จะเกิด asphyxia
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
ดูแลให้พักผ่อน
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำ ตามแผนการรักษาของแพทย์
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูดสิ่งคัดหลั่ง ให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
10.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
แรกคลอดทันทีมีคะแนน APGAR ต่า กว่า 7
ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง
นางสาวพิชณ์สินี ศักดิ์เสือ 601001091