Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
👄
โรคของช่องปาก
👄
👶🏻
ความพิการแต่กำเนิด
👶🏻
❗
โรคปากแหว่งเพดานโหว่
❗ -เกิดได้ตั้งแต่ทารกที่อยู่ในครรภ์ช่วงเดือนที่ 2 และ 3
-เกิดความผิดพลาดในการสร้างอวัยวะกับ ปากและเพดานปาก 👄
❕
ปากแหว่ง
❕
-เกิดที่ด้านบนของริมฝีปาก เป็นลักษณะช่องว่างเล็กๆหรือเว้าเล็กน้อย เรียก
ปากแหว่งไม่สมบูรณ์หรือปากแหว่งบางส่วน
-ถ้ารอยแยกนี้ไปต่อถึงจมูกเรียก
ปากแหว่งสมบูรณ์
อาจเกิดข้างเดียวหรือสองข้าง 👄
🔽
สาเหตุ
-การเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ ไม่สมบูรณ์ 👃🏻
❕
เพดานโหว่
❕
-ภาวะที่แผ่นกระดูกของskull ที่ประกอบเป็นเพดานแข็ง 2 แผ่น ไม่เชื่อมกัน 💀
-มักมีปากแหว่งร่วมด้วย 👄
-ผู้ป่วยเพดานโหว่มักมีลิ้นไก่แฉก
🔽
สาเหตุ
-ความบกพร่องของการเชื่อมของส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง ,ผนังกลางจมูก หรือส่วนยื่นเพดานปากกลาง เพื่อเป็นเพดานปาดทุติยภูมิ
✔
ชนิดสมบูรณ์
-คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย
❌
ชนิดไม่สมบูรณ์
-มีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน
🦠
การอักเสบ
🦠
❕
Gingivitis
-เศษอาหารหมักหมม หรือหินปูน พวกอยู่ที่ฟัน
-ทำให้ bacteria เจริญได้ดี
❕
Periodonitis
-การอักเสบของเนื้อเยื่อที่อยู่รอบฟัน
-เกิดที่เหงือกก่อน แล้วลุกลามทำลาย tissue
-ถ้าอักเสบเรื้อรัง อาจทำให้เหงือกร่วน
-เป็นสาเหตที่ทำใหคนสูญเสียฟันในอายุ 35
❕
Dantal caries
-รอยโรคมีการทำลายสาร enamel และ dentine
-โรคแทรกซ้อนที่สำคัญคือ Osteomyelitis และ Cellulitis
❕
Recurrent herpes labialis
-เกิดจาก herpes simplex virus
-ระยะแรกเป็น vesicle ขนาดเล็ก ที่ mucocutaneous junction ของริมฝีปาก
-ต่อมาแตกเป็นแผล และอาจมี secondary infection
❕
Aphtous ulcer(Canker sore)
-แผลที่เกิดซ้ำในช่องปาก
-มักเป็นแผลตื้น แผลเดียว หรือหลายแผลพร้อมกัน
-คลุมด้วย exudate สีเทาและรอบๆเป็นสีแดง
-หายใน 1 สัปดาห์
❕
Oral candidiasis(Thrush)
-เกิดจากเชื้อรา Candida albicans
-พบในเด็กเล็ก/คนที่ภูมิต้านทานต่ำ/ได้รับยาปฏิชีวนะ
-บริเวณอักเสบจะคลุมด้วย fibro-suppurative exudate ที่มีเชื้อราปนอยู่
❕
Tonsillitis
Acute tonsillitis
-เกิดจากเชื้อ Streptococcus Strephylococcus -พบ tonsil บวมโต มี exudate สีขาวคลุมอยู่ที่ผิว
Chronic hypertrophic tonsillitis
-เกิดจากการอักเสบของ tonsil เป็ฯๆหายๆ
-พบ tonsil มีขนาดใหญ่กว่า 2 ซม. เนื่องจากมี lymphoid hyperplasia
🦷
ฟัน
🦷
❕
เคลือบฟัน(enamel)
-เป็นส่วนที่แข็งที่สุดของฟัน
-ส่วนประกอบของ Ca และ ฟอสเฟต
❕
เนื้อฟัน(dentine)
-แข็งน้อยกว่าเคลือบฟัน มีความแข็งพอๆกับกระดูก
-มีการสร้างและสลายอยู่ตลอดเวลา
-มีเซลล์เป็นจำนวนมาก
❕
โพรงประสาทฟัน(pulp)
-เป็นที่อยู่ของเส้นเลือดที่นำอาหารมาหล่อเลี้ยงฟัน และนำของเสียออกจากฟัน
-มีเส้นประสาทรับความรู้สึกของฟัน
❕
เคลือบรากฟัน (cementum)
-ส่วนของเนื้อเยื่อปริทันต์ที่อยู่ในรากฟัน ด้านหลังเหงือก
-มีเส้นประสาทไหลเวียนมาก
❕
เหงือก(gingiva)
-เนื้อเยื่อที่หุ้มตัวฟันและกระดูกขากรรไกรไว้
โรคของต่อมน้ำลาย
💦
❕
Mumps
-เกิดจากการติดเชื้อไวรัส กลุ่ม Paramyxovirus
-เป็นการอักเสบแบบ acute interstital inflammation
-ติดต่อกันทาง น้ำลาย เสมหะ มักจะพบในเด็ก 5-10 ปี
🧑🏻
ผู้ชาย
อาจจะเป็นอัณฑะอักเสบ
👩🏻
ผู้หญิง
อาจจะมีรังไข่อักเสบ
อาจมีเยื้อหุ้มสมองอักเสบร่วมด้วย
👅
โรคของหลอดอาหาร
👅
👶🏻
ความพิการแต่กำเนิด
👶🏻
❕
Esophageal atresia
ภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดอาหาร
❕
Esophageal stenosis
ภาวะที่บางส่วนของหลอดอาหารตีบ
❕
Achalasia
-จำนวน myenteric ganglion cell ในผนังหลอดอาหาร มีจำนวนลดลงหรือไม่มี
-กลืนอาหารลำบากและสำลัก โดยเฉพาะเวลากลางคืน
❕
Esophageal varices
-หลอดเลือดดำโป่งพองบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง ทำให้บาง และฉีดขาด และมีเลือดออก
-สาเหตุที่ทำให้ภาวะเลือดออก คือ cirrhosis
👄
Stomach
👄
👶🏻
พิการแต่กำเนิด
👶🏻
❕
Diaphragmatic hernia
ทำให้พบส่วนที่เป็นทางเดินอาหารอยู่ในทรวงอกได้
❕
Congenital pyloric stenosis
❌
ความผิดปกติของกระเพาะอาหาร
❌
❕
Gastritis
-การอักเสบของ gastric mucosa จากสารระคายเคืองและความบกพร่องกลไกป้องกัน
◾
Acute gastritis
-ระคายเคืองจากยา อาหาร แอลกอฮอล์ การติดเชื้อ
-พยาธิสภาพเริ่มจากอาการเลือดคั่งและบวมของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
-อาจพบรอยโรค acute hemorrrhagic erosive gastritis
◾
Chronic gastritis
-การดิ่มเหล้า ยาASA การติดเชื้อ Heliobactor pylori
-รอยแผลเป็น คือ เลือดออก แผลในกระเพาะอาหาร
❕
Peptic ulcer
-ภาวะเยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย และเกิดแผลในเยื่อบุกระเพาะอาหาร เสียสมดุลระหว่างปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะ
-พบได้ทุกเพศทุกวัย
-ตน.ที่พบ เช่น หลอดอาหารส่วนล่างของกระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนต้นที่ติดกับกระเพาะอาหาร
-เกิดจาก การสูบบุหรี่ การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ การติดเชื้อ Helicobactor pylori
◾
Acute ulcer
-เป็นแผลตื้นไม่ลึกกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
-มักพบเป็นแผลหลายจุด เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว
-พบมากในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดหรือติดเชื้อรุนแรง
◾
Chronic peptic ulcer
-แผลลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
-ขอบแผลนูนบวม เมื่อแผลหายจะเกิดรอยแผลเป็น
▫
แผลที่กระเพาะอาหาร(Gastris ulcer)
-พบได้ทุกส่วนของกระเพาะอาหาร
-พบมากในวัย 40 ปีขึ้นไป
-เกิดจากความสามารถในการป้องกันกรดและเปปซินของกระเพาะอาหารลดลง
▫
แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น(Duodenal ulcer)
-เกิดจากการหลั่งกรดที่มากขึ้น
-พบในทุกวัย ดดยเฉพาะคนที่มีความเครียดสูง สูบบุหรี่และดื่มเหล้า
◾
Peptic ulcer perforate
-น้ำย่อยในกระเพาะมีฤทธิ์เป็นกรด
-อาการ ปวดท้องอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้เสียชีวิตได้
-พบมากที่สุดคือ การติดเชื้อ Heliobactor pylori การใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID
💋
โรคของลำไส้เล็ก
👀
👶🏻
ความพิการแต่กำเนิด
👶🏻
❕
Congenital atresia
-ภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของลำไส้เล็ก
❕
Congenital stenosis
-ภาวะที่บางส่วนของลำไส้เล็กตีบ
❕
Intussusception
-ภาวะที่ลำไส้เล็กส่วนต้นถูกกลืนโดยลำไส้เล็กส่วนปลาย
-ส่วนที่กลืน เรียก intussuscipien ส่วนที่ถูกกลืน เรียก intussusceptum -พบในเด็กเล็ก เฉพาะผู้ชาย
🔽
สาเหตุ
-ไม่ทราบว่าอะไรเป็นสาเหตุ
-บางรายพบว่า เกิดหลังจากการติดเชื้อของลำไส้ หรือผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
❕
Intestinal adhesion
-การติดกันของลำไส้ หรือการที่ลำไส้ติดกับอวัยวะส่วนอื่น ทำให้มีการดึงรั้งลำไส้
-เกิดจากการอักเสบหรือภายหลังการผ่าตัดในช่องท้อง
❕
Intestinal obstruction
-ภาวะสิ่งต่างๆในลำไส้ พวกของเหลวต่างๆของลำไส้ไม่สามารถเคลื่อนผ่านได้ตามปกติ จึงเกิดอาการแน่นท้อง อึดอัด ไม่ผายลม
-เกิดจากลำไส้ไม่บีบตัว เรียก
ภาวะลำไส้อืด
หรือเกิดจากช่องทางเดินในลำไส้ตีบแคบ เรียก
ลำไส้ตีบตีน
❤
โรคของลำไส้ใหญ่
👁🗨
👶🏻
ความพิการแต่กำเนิด
👶🏻
❕
Hirschsprung’s disease or Congenital megacolon
-พบในเพศชาย
-พยาธิสภาพพบที่ rectum และ sigmoid colon
❕
Imperforate anus
-เกิดจากเนื้อเยื่อที่แยกระหว่าง rectum กับ anus ที่ควรหายไปตั้งแต่ทารกในครรภ์อายุ 8 สัปดาห์
-เกิดภาวะลำไส้อุดตันได้
❕
Diverticular disease
-การที่ mucosa มีลักษณะคล้ายถุงยื่นเป็นติ่ง ออกไปจาก muscle layer ของผนัง colon
-มักพบในผู้สูงอายุ และไม่ออกกำลังกาย
❕
Hemorrhoid
(ริดสีดวงทวาร)
-เกิดจากการโตขึ้นของกลุ่มเส้นเลือด และเนื้อเยื่อ บริเวณส่วนปลายของลำไส้ตรง ที่เรียกว่า
hemorrhoidal tissue
🔽
สาเหตุ
-1.เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณนั้น
-2.เกิดจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดดำนานๆ เกิดจากการเบ่งอุจจาระบ่อยๆ จากท้องผูก การยกของหนักการยืนนานๆ รวมทั้งการตั้งครรภ์ ทำให้เลือดไหลกลับไม่สะดวก
☀
โครงสร้างและสรีรวิทยาของตับ
‼
❗
หน้าที่ของตับ
❕สร้างและหลั่งน้ำดี
❕ควบคุมการสร้างและสลายไขมัน โปรตีน วิตามิน คาร์โบไฮเดรต
❕ทำการเปลี่ยนโครงสร้างและขับสารพิษและยาออกจากร่างกาย
❕มีการสลายและขับออกของฮอร์โมน
❗
ความผิดปกติของตับ
❕
Jaundice
-ระดับ bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติสองเท่า
-อาการ ผิวหนัง ตา sclera เหลือง
-มีการอุดตันของทางเดินน้ำดีทั้งภายในและ
ภายนอกตับ
🔽
สาเหตุ
-มีการแตก RBC เพิ่มขึ้น
-มีความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ bilirubin
❕
Ascites
-ภาวะท้องมานเป็นการสะสมของเหลวในช่องท้อง โดยมีสาเหตุ
จากโรคตับเรื้อรัง มะเร็ง หัวใจขวาล้มเหลว ตับอ่อนอักเสบ
-ภาวะalbumin ต่ำ
-การหลั่งADH↑,Aldosterone ↑
❕
ภาวะความดันเลือดสูงในเส้นเลือดดาพอร์ตัล(Portal hypertension)
-การเกิด Portal hypertention ระยะยาวทำให้เกิดปัญหา
▫ Varices
▫ splenomegaly
▫ ascites
▫hepatic encephalopathy
◾1. การอุดตันที่เกิดในเส้นเลือดพอร์ตัล (Prehepaticblock)
◾2. การอุดตันที่เกิดขึ้นในตับส่วน sinusoids (Intrahepatic sinusoidal block)
◾3. การอุดตันที่เกิดขึ้นในเส้นเลือดดำเฮปพาติก
(Posthepatic block)
❕
Hepatitis
-เป็นการอักเสบของตับเกิดจากการติดเชื้อ virusหรือreactionจากยาและสารเคมี มีการทำลาย parenchymal cell และมีtransaminases (SGOT,SGPT) ปล่อยเข้ากระแสเลือด
❕
Cirrhosis
-ความผิดปกติของตับที่เกิดจากการอักเสบมีfibrosis และมี nodular regeneration
-ตับรูปร่างบิดเบี้ยว คลำพบเป็นก้อนแข็งทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินน้ำดี เกิด
portal hypertention
❌
โรคในระบบทางเดินน้ำดี
💦
❕
นิ่วในทางเดินน้ำดี (Gallstones)
-นิ่วที่เกิดขึ้นและมีอยู่ในทางเดินน้ำดีอาจพบในถุงน้ำดีหรือท่อน้ำดีก็ได้ เรียก
Cholelithiasis
◾
นิ่วที่ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล (Cholesterolstones)
-พบบ่อยประมาณ 80% ของนิ่วในถุงน้ำดีทั้งหมด
-ลักษณะแข็งเป็นก้อนสีขาว เหลือง หรือเขียว
-เกิดจากการมีCholesterol เพิ่มขึ้นในน้ำดี หรือการบีบตัวของกล้ามเนื้อในถุงน้ำดีมีสมรรถภาพไม่เพียงพอ ทำให้บีบสารออกได้หมด
🔽
สาเหตุ
-การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนความเข้มข้นในน้ำดี -การไม่เคลื่อนที่ของน้ำดี
◾
นิ่วที่ประกอบด้วยบิลิรูบิน (Pigment or bilirubinstones)
-มีขนาดเล็กกว่าและมีสีคล้ำกว่าชนิดที่เกิดจากคอเลสเตอรอล
-มักพบในผู้ป่วยโรคตับแข็งหรือโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
โรคโลหิตจางจากการขาดเอนไซม์ G6PD
🔽
สาเหตุ
-เกิดจากการมี unconjugated bilirubin เพิ่มมากขึ้นในน้ำดี เนื่องจากมีการทำลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ หรือมีการอักเสบถุงน้ำดีและท่อน้ำดีเรื้อรัง
◾
Cholecystitis
-การอักเสบของถุงน้ำดีจากโรคนิ่วในถุงน้ำดี
-ก้อนนิ่วจะไปอุดตันท่อน้ำดีส่งผลให้น้ำดีไหลออกจากถุงน้ำดีเข้าสู่ลำไส้ไม่ได้ จึงขาดเลือด เนื้อเยื่อถุงน้ำดีจึงเกิดการบาดเจ็บ เกิดเป็นการอักเสบขึ้น
◾
Choledocholithiasis
-นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีร่วม เกิดจากการอักเสบของท่อน้ำดี(Cholangitis)
◾
hepatolithiasis
-นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีภายในตับ มีแคลเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก มีสีน้ำตาล เรียก
Brown pigmentstones
👾
ความผิดปกติในหน้าที่ตับอ่อน
❌
❗
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis)
▫-เกิดจากท่อในตับอ่อนได้รับบาดเจ็บหรือมีการแตก น้ำย่อยจากตับอ่อนจะย่อยเนื้อเยื่อตนเอง
▫-แอลกอฮอล์ ทำให้ตับอ่อนหลั่งน้ำย่อยมากขึ้น
▫-การอุดตันทางเดินน้ำดี ทำให้น้ำดีไหลเข้าสู่ตับอ่อน
❗
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง (Chronic pancreatitis)
▫-มีความสัมพันธ์กับการดื่มเหล้า สูบบุหรี่รับประทานอาหารมัน
❕
1. Chronic calcifying pancreatitis
มักพบในผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง
❕
2. Chronic obstructive pancreatitis
มีความสัมพันธ์กับการตีบของ Oddisphinctor