Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 การพยาบาลสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
บทที่7 การพยาบาลสูติศาสตร์หัตถการ
การคลอดโดยใช้คีม (Forcep extraction)
ข้อบ่งชี้
การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน (Prophylactic or Elective)
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
ด้านแม่
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบ
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่
มีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
อ่อนเพลีย
โรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
สภาวะที่เหมาะสมในการทำ
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสม
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะCPD
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
การพยาบาล
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ คลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ข้อบ่งชี
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิด ความล่าช้าในระยะที่ 2 ของการคลอด
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
Mild fetal asphyxia
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกต
ข้อห้าม
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนก าหนด
สายสะดือพลัดต่ำ
Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสมในการทำ
ปากมดลูกเปิดหมด และปากมดลูกมีความบางเต็มที่
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสม
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะCPD
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
การพยาบาล
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการ คลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัว
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การชักนำการคลอด (Induction of labour)
ข้อบ่งชี้
PIH
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
PROM
choroamnionitis
abruptio placenta
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
IUGR
oligohydramnios
hydrops fetalis
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
ข้อห้าม
Placenta previa
vasa previa
CPD
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
การพยาบาล
เตรียม 5% D/W 1000 cc+Synto 10U
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
การผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้อง (Cesarean Section
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
มะเร็งปากมดลูก
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
การพยาบาลมารดา
ก่อนการผ่าตัด
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดาเพื่อการผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
ดูแลให้NPO
เตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนัง
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัดตามแผนการักษาของแพทย์
จองเลือดไว้ 2 ยูนิต และสำรองไว้จนถึง 48 ชั่วโมง หลังผ่าตัด
Vital signs
ขณะทำการผ่าตัด
หลังทำผ่าตัด
ประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด
สังเกตอาการของการติดเชื้อ
ดูแลให้มารดาได้รับยาปฏิชีวนะตามคำสั่งการรักษา
สังเกตอาการผิดปกติ
นางสาววรนาถ มโนรินทร์
รหัสนักศึกษา 602701081