Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Schizophrenia, นางสาวปิยะนันท์ พรมพินิจ เลขที่ 34 ห้อง25A - Coggle Diagram
Schizophrenia
กลุ่มโรคจิตเภท
-
- Schizophreniform disorder
- Schizotypal personality disorder
- schizoaffective disorder substance/
medication-induced psychotic disorder
-
- psychotic disorder due
to another medical condition
- other specified schizophrenia spectrum
and other psychotic disorder
- unspecified schizophrenia spectrum
and other psychotic disorder
สาเหตุ
- ความผิดปกติระดับโครงสร้างของสมอง
- ความผิดปกติระดับจุลภาคและระดับการทำงานของสารสื่อประสาท
- ปัจจัยทางพันธุกรรมที่ทำให้เกิดโรค
- ปัจจัยที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์
- ปัจจัยกระตุ้น (ความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ไม่ดี และความสัมพันธ์ที่ใช้อารมณ์รุนแรง)
- ความบกพร่องของประสาทพุทธิปัญญา
อาการโรคจิต
1.1 Persecutory delusions เป็นลักษณะที่พบบ่อยที่สุด ที่เชื่อว่าตนเองนั้นจะโดนปองร้าย ทำให้อับอาย หรือกลั่นแกล้งจากบุคคลอื่น ๆ
1.2 Referential delusions เชื่อว่าท่าทาง คำพูดของบุคคลอื่น หรือสภาพแวดล้อมต่าง ๆ มีความหมายสื่อถึงตนเอง
-
-
-
-
-
-
-
1.10 Thought Controlled เชื่อว่าพลังอำนาจบางอย่างควบคุมความคิดและบงการให้ตนเคลื่อนไหว หรือคิดตามนั้น
อาการหลงผิดบางครั้งอาจยากต่อการพิสูจน์ว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่ โดยเฉพาะอาการหลงผิด ที่มีเนื้อหาสอดคล้องเป็นเรื่องราว และไม่แปลกประหลาด เช่น หลงผิดเชื่อว่าคู่ครองนอกใจ เป็นต้น อย่างไรก็ตามหาก อาการหลงผิดนั้นมีเนื้อหาซึ่งไม่สามารถอธิบายได้จากบริบทความเชื่อหรือวัฒนธรรมนั้น ๆหรือไม่สามารถ เป็นไปได้ในความจริง จะถือว่าเป็นอาการหลงผิดที่มีเนื้อหาแปลกประหลาด
- อาการประสาทหลอน
(Hallucination)
มีการรับรู้ทางระบบประสาทโดยไม่มีสิ่งเร้า ส่วนใหญ่อาการหลอนที่มีความสำคัญทางคลินิกมักจะมีลักษณะที่ชัดเจนและผู้ป่วยมักจะไม่สามารถควบคุมอาการหลอนได้ สามารถเกิดได้กับทุกระบบประสาทสัมผัส แต่ในกลุ่มโรคจิตเภทนั้นจะพบอาการหลอนเป็นหูแว่วได้บ่อยที่สุด ลักษณะเป็นคำพูดของบุคคลอื่นเนื้อหาอาจเป็นการด่าทอ ข่มขู่ สั่งหรือบงการ พูดคุยกันเอง หรือพูดพาดพิงโดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้ป่วย
ผู้ป่วยบางรายอาจเห็นเป็นภาพหลอน แต่ไม่ใช่อาการหลอนที่เป็นปกติทางสรีระ และเกิดช่วงที่กำลังจะนอนหลับ และช่วงที่กำลังจะตื่น
- กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
(Disorganized thinking/speech)
- ผู้ตรวจจะสังเกตได้จากคำพูดระหว่างการสัมภาษณ์ เช่น ผู้ป่วยตอบไม่ตรงคำถาม หรือมีการพูดเปลี่ยนเรื่องไปเรื่อย ๆ เป็นต้น
- หากความยุ่งเหยิงและไม่เป็นระเบียบของกระบวนความคิดนั้นรุนแรงมากอาจทำให้คำพูดนั้นฟังไม่รู้เรื่อง โดยใช้คำที่มีความหมายแต่ไม่เกี่ยวข้องกันมาเรียงประโยค เช่น “คุณหมอใครหมูไปไก่ขันมาส่งน้า” หรือพูด คำที่ไม่มีความหมายออกมาเป็นภาษาใหม่ เป็นต้น
- พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
(Grossly disorganized or abnormal motor behavior)
อาการสามารถแสดงออกได้ในหลายรูปแบบ
-อาจจะเป็นพฤติกรรมที่เอาแต่ ใจเหมือนเด็กซึ่งไม่เหมาะสมกับอายุอย่างมาก
-อาจแสดงออกเป็นพฤติกรรมกระวนกระวาย
-อาจแสดงออกเป็นพฤติกรรม catatonia
การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบเหล่านี้จะทำให้ผู้ป่วยดูแปลกในสายตาคนทั่วไป และอาจก่อให้เกิดปัญหาด้านต่าง ๆ ได้ เช่น พฤติกรรมนั้นรบกวนผู้อื่น เป็นต้น
- อาการด้านลบ
(Negative symptoms)
5.1 การแสดงอารมณ์ที่ลดลง ซึ่งสังเกตจากการแสดงออก ทางสีหน้า สำเนียงขึ้นลงของเสียง การใช้ภาษากายในการสื่อสาร
5.2 แรงกระตุ้นภายในที่ลดลง ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยอาจนั่งเฉย ๆ เป็นระยะเวลานาน ไม่แสดงความสนใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมใด ๆ และไม่สนใจที่จะทำสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือผลงานใด ๆ
-
-
-
เกณฑ์การวินิจฉัย
A. ต้องมีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 1 ข้อ
(อย่างน้อยต้องมีอาการในข้อ A1, A2 หรือ A3)
- A1. อาการหลงผิด
- A2. อาการหลอน
- A3. กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
- A4. พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ โดยอาการข้างต้นต้องไม่ สามารถอธิบายได้จากความเชื่อและวัฒนธรรม
B. อาการเป็นต่อเนื่องอย่างน้อย 1 วัน แต่ไม่เกิน 1 เดือนและผู้ป่วยสามารถกลับไปท าหน้าที่ด้านต่าง ๆ ได้เหมือนก่อน
C. อาการข้างต้นต้องไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคทางจิตเวชอื่น ๆ เช่น major disorder หรือ bipolar disorder ซึ่งมีอาการโรคจิตร่วมด้วย หรือ โรคจิตเภทหรือ catatonia หรืออาการต่าง ๆ เกิดขึ้นจาก การใช้สาร หรือภาวะทางกาย ระบุลักษณะต่อไปนี้
- With marked stressors (brief reactive psychosis) เมื่ออาการข้างต้นเป็นการตอบต่อเหตุการณ์ ซึ่งเป็นความเครียดที่รุนแรงอย่างมาก
- without marked stressors เมื่ออาการข้างต้นไม่ได้เป็นการตอบสนองต่อเหตุการณ์ซึ่งเป็น ความเครียดที่รุนแรงอย่างมาก
- with postpartum onset เมื่ออาการข้างต้นเกิดขึ้นภายใน 4 สัปดาห์หลังจากคลอด
- with catatonia เมื่อมีอาการของ catatonia
- Schizophreniform disorder
A. มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ข้อ (ต้องมีอาการข้อ A1, A2 หรือ A3) โดยอาการนั้นจะต้องเป็นอย่างต่อเนื่องพอควรในช่วงระยะเวลา 1 เดือน (หากได้รับการรักษา อาการอาจเป็นต่อเนื่องสั้นกว่า 1 เดือนได้)
- A1. อาการหลงผิด
- A2. อาการหลอน
- A3. กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
- A4. พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
- A5. อาการด้านลบ
B. อาการเป็นต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือน แต่น้อยกว่า 6 เดือน หากจะต้องวินิจฉัยโดยไม่รอการฟื้น ของตัวโรค ควรระบุว่าเป็น “การวินิจฉัยชั่วคราว”
C. หาก schizophreniform disorder นั้นมีอาการทางอารมณ์ร่วมด้วยอาการทางอารมณ์นั้นต้องเกิดขึ้นเป็นเพียงส่วนน้อย เมื่อเทียบกับระยะเวลาของอาการทั้งหมด และอาการข้างต้นต้องไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคทางจิตเวชอื่น ๆ เช่น schizoaffective disorder major depressive disorder และ major depressive disorder หรือ bipolar disorder ที่มีอาการโรคจิตร่วมด้วย
D. อาการข้างต้นต้องไม่เกิดขึ้นจากการใช้สาร หรือ โรคภาวะทางกาย ระบุลักษณะต่อไปนี้
- With good prognostic features เมื่อผู้ป่วยมีปัจจัยของพยากรณ์โรคที่ดี โดยลักษณะของอาการซึ่ง บ่งบอกพยากรณ์โรคที่ดีนั้น ได้แก่
- มีการดำเนินอาการของโรคเป็นไปอย่างรวดเร็ว
- มีอาการสับสน
- มีการแสดงสีหน้ามึนงง
- ไม่มีการแสดงอารมณ์ที่ลดลง (no blunted or flat affect)
- มีทักษะทางสังคมและหน้าที่การงานก่อนที่จะป่วยอยู่ในระดับสูง
- Without good prognostic features เมื่อผู้ป่วยมีปัจจัยพยากรณ์โรคที่ดีน้อยกว่า 2 ข้อ With catatonia เมื่อมีอาการของ catatonia
A. มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ข้อ (ต้องมีอาการข้อ A1, A2 หรือ A3) โดยอาการนั้นจะต้องเป็นอย่างต่อเนื่องพอควรในช่วงระยะเวลา 1 เดือน (หากได้รับการรักษา อาการอาจเป็นต่อเนื่องสั้นกว่า 1 เดือน ได้)
- A1. อาการหลงผิด
- A2. อาการหลอน
- A3. กระบวนความคิดและภาษาที่ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
- A4. พฤติกรรมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติหรือยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ
- A5. อาการด้านลบ
B. หน้าที่การงาน หรือความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หรือการดูแลตนเองนั้นลดถอยลงอย่างชัดเจน เมื่อเทียบกับตอนก่อนมีอาการ (หากเริ่มมีอาการในวัยเด็กหรือวัยรุ่น ให้พิจารณาจากความสามารถ ด้านการ เรียน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และการไม่ประสบความสำเร็จในอาชีพเท่าที่ควรจะเป็น)
C. อาการเป็นต่อเนื่องมากกว่า 6 เดือน โดยมีอย่างน้อย 1 เดือนที่อาการเข้าได้กับเกณฑ์ A โดยที่ ระยะเวลา 6 เดือนนั้นให้นับรวมถึงช่วงที่มีอาการนำ หรืออาการที่หลงเหลือ จากการรักษา ซึ่งอาจจะเป็นเพียงแค่อาการด้านลบ หรือเป็นอาการในเกณฑ์ข้อ A ที่ เบาลง
D. อาการข้างต้นต้องไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคทางจิตเวชอื่น ๆ เช่น ต้องแยกวินิจฉัยจากโรค schizoaffective disorder และ major depressive disorder หรือ bipolar disorder ที่มีอาการโรคจิตร่วมด้วย หากโรคจิตเภทนั้นจะมีอาการทางอารมณ์ร่วมด้วย อาการทางอารมณ์นั้นต้องเกิดขึ้นเป็นเพียงส่วนน้อยเมื่อ เทียบกับระยะเวลาของอาการทั้งหมด
-
F. หากเคยมีประวัติของ autism spectrum disorder หรือ communication disorder จะสามารถวินิจฉัยโรคจิตเภทได้เฉพาะเมื่ออาการหลงผิดหรืออาการหลอนนั้นเกิดขึ้นต่อเนื่องอย่างน้อย 1 เดือน โดยเพิ่มเติมจากเกณฑ์อื่น ๆ
ระบุลักษณะต่อไปนี้สำหรับรูปแบบของการดำเนินโรค เมื่ออาการเป็นต่อเนื่องเกิน 1 ปี
- First episode, currently in acute episode เมื่อเป็นการแสดงอาการครั้งแรกของโรค
- First episode, currently in partial remission เมื่ออาการของโรคดีขึ้นจนเหลืออาการจากเกณฑ์ วินิจฉัยแค่บางอาการ
- First episode, currently in full remission เมื่ออาการของโรคดีขึ้นจนไม่เหลืออาการของโรคเลย
- Multiple episodes, currently in acute episode เมื่อเป็นการแสดงอาการของโรคที่เข้าเกณฑ์ วินิจฉัยเป็นครั้งที่ 2 เป็นต้นไป
- Multiple episodes, currently in partial remission
- Multiple episodes, currently in full remission
- Continuous เมื่ออาการจากเกณฑ์วินิจฉัยนั้นคงอยู่อย่างต่อเนื่องเป็นส่วนใหญ่ตลอดระยะการดำเนินโรค อาจมีช่วงอาการลดลงได้บ้าง แต่ต้องเป็นเพียงส่วนน้อยเมื่อเทียบกับระยะการดำเนินโรคทั้งหมด
- With catatonia เมื่อมีอาการของ catatonia
-
-
A. มี major mood episode (major depressive episode หรือ manic episode) ร่วมกับมี อาการในข้อ A ตามเกณฑ์วินิจฉัยโรคจิตเภท
-
ระบุลักษณะต่อไปนี้
- Bipolar type เมื่อมี manic episode
- Depressive type เมื่อมีเฉพาะ major depressive episode
- การระบุรูปแบบของการดำเนินโรคใช้รูปแบบเดียวกับในโรคจิตเภท
-
B. อาการไม่ครบเกณฑ์วินิจฉัยข้อ A ของโรคจิตเภท
- หมายเหตุ หากมีอาการประสาทหลอน อาการต้องไม่เด่นชัดเท่ากับอาการหลงผิด และเนื้อหาอาการ ประสาทหลอนต้องเชื่อมโยงกับอาการหลงผิด
-
D. หากมีอาการทางอารมณ์ร่วมด้วย อาการทางอารมณ์ต้องเกิดขึ้นเป็นสัดส่วนระยะเวลาที่ น้อยมาก เมื่อเทียบกับอาการหลงผิด
E. อาการไม่ได้เป็นผลจากการใช้ยาหรือสาร และไม่สามารถอธิบายได้ด้วยโรคจิตเวชอื่น ๆ เช่น body dysmorphic disorder via obsessive-compulsive disorder
ระบุลักษณะเนื้อหาหลักของอาการหลงผิดดังต่อไปนี้
- Erotomanic type เมื่อเนื้อหาหลักคือมีผู้อื่นมาชอบ หรือหลงรักผู้ป่วย
- Grandiose type เมื่อเนื้อหาหลักคือผู้ป่วยได้ทำสิ่งที่ยิ่งใหญ่และมีคุณค่ามากหรือผู้ป่วย เชื่อว่าตนมีพรสวรรค์สูงมากโดยที่ไม่มีใครรู้และชื่นชม
- Jealous type เมื่อเนื้อหาหลักเกี่ยวกับคู่สมรสที่ไม่ซื่อสัตย์
- Persecutory type เมื่อเนื้อหาหลักเกี่ยวกับผู้ป่วยถูกรังแก กลั่นแกล้ง ทำให้อับอาย โดนเอารัดเอา เปรียบ หรือผู้อื่นสมคบคิดกันท าให้ผู้ป่วยไม่ประสบความสำเร็จ
- Somatic type เมื่อเนื้อหาหลักเกี่ยวกับการทำงานที่ผิดปกติไปของร่างกายบางส่วน เช่น ประสาท สัมผัสของร่างกายทำงานผิดปกติไป
- Mixed type เมื่อเนื้อหาปะปนกัน และไม่มีลักษณะใดเด่นชัด
- Unspecified type เมื่อไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มข้างต้นได้
การระบุรูปแบบของการด าเนินโรค ให้ใช้รูปแบบเดียวกับในโรคจิตเภท
-
การรักษา
-
-
-
Psychosocial treatmentได้แก่ อาชีวบำบัด ซึ่งจะช่วยให้ ผู้ป่วยได้ฝึกทักษะการทำงาน และการสอนทักษะทางสังคม
การวินิจฉัยแยกโรค
Schizophrenia
ต้องเข้าเกณฑ์ของโรคจิตเภท อาจจะเข้าเกณฑ์ major ต้องเข้าเกณฑ์ major depressive episode หรือ manic episode เป็นต่อเนื่องนานกว่า 6 เดือน อาการทางอารมณ์ต้อง เกิดขึ้นเพียงส่วนน้อย รองระยะเวลาการเจ็บป่วยทั้งหมด
Schizoaffective disorder
ต้องเข้าเกณฑ์ของ A ของโรคจิตเภทต้องเข้าเกณฑ์ major depressive episode manic episode มีอย่างน้อย 2 สัปดาห์ที่อาการโรคจิตคงอยู่โดยไม่มีอาการทางอารมณ์อาการทางอารมณ์ต้องเกิดขึ้นเป็นส่วนใหญ่ ระยะเวลาการเจ็บป่วยทั้งหมด
-
-