Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลุงขอ, พระราชบัญญัติวัตถุ ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518 - Coggle Diagram
ลุงขอ
ประเด็นที่ 1 ผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งระยะลุกลาม มีอาการเหนื่อยมาก มีเสมหะมาก ญาติขอให้ช่วยเหลือไม่ให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน พยาบาลและผู้ป่วยมีความเกี่ยวข้องอย่างไรในการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยทรมานน้อยที่สุดและสามารถยอมรับกับโรคที่ตนเป็นอยู่อย่างไร
หลักจรรยาบรรณวิชาชีพ
-
ข้อที่ 2 พยาบาลประกอบวิชาชีพด้วยความเมตตากรุณา เคารพในคุณค่าของชีวิต ความมีสุขภาพดีและความผาสุกของเพื่อนมนุษย์
ข้อที่ 3 พยาบาลมีปฏิสัมพันธ์ทางวิชาชีพกับผู้ใช้บริการ ผู้ร่วมงาน และประชาชนด้วยความเคารพในศักดิ์ศรี และสิทธิมนุษยชนของบุคคล
-
ข้อที่ 6 พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการพยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการ
หลักจริยธรรม
1.การเคารพเอกสิทธิ์ (respect for autonomy) เป็นการเคารพความคิดเห็น การตัดสินใจในการเลือกของผู้ป่วย ในการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพโดยปราศจากการบีบบังคับ
2.การบอกความจริง (truth-telling/veracity) ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิได้รับข้อมูลที่เป็นความจริง เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกตัดสินใจรับบริการสาธารณสุข
3.การทำหน้าที่แทน (advocacy) พยาบาลมีหน้าที่ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างเต็มความสามารถเมื่อเกิดเหตุการณ์สำคัญ
-
5.ความเอื้ออาทร (caring) การไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย การให้ความเคารพผู้ป่วย การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ให้การดูแบผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
สิทธิผู้ป่วย
1.ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาลและการดูแลด้านสุขภาพตามมาตรฐานวิชาชีพจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือก
- ผู้ป่วยที่ขอรับการรักษาพยาบาลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลที่เป็นจริงและเพียงพอเกี่ยวกับการเจ็บป่วย การตรวจ การรักษา ผลดีและผลเสียจากการตรวจ
- ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วน
สิทธิพยาบาล
-
8). สิทธิที่จะเป็นผู้ให้และเป็นผู้รับข้อมูลในฐานะที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (Health Professional)
บทบาทหน้าที่ของผู้ป่วย
- สอบถามเพื่อทำความเข้าใจข้อมูลและความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้นก่อนลงนาม ให้ความยินยอม
- ให้ข้อมูลด้านสุขภาพและข้อเท็จจริงต่างๆ ทางการแพทย์ที่เป็นจริงและ ครบถ้วนแก่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
- ให้ความร่วมมือและปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของผู้ ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล
- ผู้ป่วยพึงรับทราบข้อเท็จจริงทางการแพทย์
ประเด็นที่ 2 หลังใส่ท่อ 2 วัน ผู้ป่วยเริ่มมีอาการหายใจเร็ว ต้านเครื่องตลอดคืน ทำให้ผู้ป่วยไม่ได้นอนและสร้างความทรมานแก่ผู้ป่วย เป็นความผิดของพยาบาลหรือไม่
สิทธิพยาบาล
- สิทธิที่จะเป็นผู้ให้และเป็นผู้รับข้อมูลในฐานะที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
- สิทธิที่จะมีโอกาสกระทำผิดพลาดโดยมิได้ตั้งใจและรับผิดชอบต่อสิ่งที่ทำ
สิทธิผู้ป่วย
- ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจำเป็นแก่กรณีโดยไม่ต้องคำนึงว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือหรือไม่
ต้านเครื่องหายใจ
ผู้ป่วยที่กำลังใส่ท่อช่วยหายใจ (Endotracheal tube, ET) และใช้เครื่องช่วยหายใจ มีอาการกระสับกระส่าย หรือทุรนทุราย ไม่หายใจตรงตามจังหวะของเครื่องช่วยหายใจ ซึ่งภาวะนี้เรียกว่า Patient-Ventilator Dyssynchrony
-
-
-
กรณีนี้ทำให้ผู้ป่วยทรมาน มิได้เกิดจากที่พยาบาลขาดความรับผิดชอบหรือกระทำผิดพลาดใดๆ จากข้อเท็จจริงจึงเห็นได้ว่าผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยหอบและมีเสมหะมาก จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการต้านเครื่อง ดังนั้นพยาบาลจะต้องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้ช่วยแพทย์ โดยการสังเกตและบันทึกความเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยรวมถึงประสานงานกับทีมแพทย์ด้วยความรวดเร็วและรายงานให้แพทย์ทราบถึงอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
-
-
-
ประเด็นที่ 3 ผู้ป่วยได้เขียนบอกกับญาติให้ “ขอช่วยพ่อให้พ้นทรมาน เมื่อคืนไม่ได้นอนเลย ขอยานอนหลับ อย่าให้พ่อต้องทรมาน” พยาบาลสามารถให้ตามคำขอผู้ป่วยได้หรือไม่
-
-
-
-