Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด, image, image, image, image, ECG-waves…
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
Cardiac Muscle cells
Myocardial Cells
เป็นเซลล์โครงร่างของหัวใจ ถูกกระตุ้นโดยกระแสไฟฟ้าได้
Pacemaker cells
เป็น Electrical cells สามารถผลิตไฟฟ้า และส่งต่อไปเซลล์อื่นได้
4 Characteristics of cardiac cells
.
Automaticity สร้างกระแสไฟฟ้าได้
Excitability ตอบสนองต่อไฟฟ้าที่มากระตุ้นได้
Conductivity เป็นสื่อนำไฟฟ้า ส่งต่อจากเซลหนึ่งไปยังเซลอื่นได้
Contractility ตอบสนองต่อไฟฟ้าที่มากระตุ้นโดยการหดและยืดตัว
ระบบไฟฟ้าของหัวใจ
Cardiac action potential
Cardiac action Potential เกิดจากการไหลเข้าออกของ electrolyte 3 ตัวหลัก คือ Na+, K+, และ Ca++
Depolarization เป็นสภาวะภายในเซล ที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เพิ่มมากขึ้นจากการไหลของNa+, Ca++ เข้าเซลล์
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การติด EKG
Characteristic of normal ECG
ECG Interpretation
.
Rhythm สม่ำเสมอหรือไม่
Heart Rate ปกติ เร็ว หรือ ช้า
มี P Wave หรือไม่ รูปร่างปกติ? และ สัมพันธ์กับQRS ?
PR interval ปกติหรือไม่ (0.12-0.2 วินาที)
QRS complex แคบหรือกว้าง รูปร่างเหมือนกันไหม
ST segment (elevate / depress)
T wave เป็น positive deflect หรือไม่
Cardiac arrhythmias
สาเหตุ
สาเหตุที่หัวใจ
.
โรคของกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคของลิ้นหัวใจ ตีบ รั่ว
หัวใจโต หัวใจล้มเหลว
สาเหตุภายนอกหัวใจ
.
ภาวะเสียสมดุลอิเล็คโตรลัยท์ เช่น K, Mg, Ca, Na
ภาวะ hypoxia หรือ hypercapnia
การกระตุ้น ANS ทั้ง sympathetic และ parasympathetic
ได้รับยาบางชนิด ชา กาแฟ บุหรี่
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
โรคอื่นๆ เช่น ไทรอยด์เป็นพิษ
อาการ
.
อาการอาจขึ้นกับชนิดของจังหวะหัวใจที่ผิดปกติ
ถ้าหัวใจเต้นเร็วหรือเต้นไม่สม่ำเสมอ ผู้ป่วยอาจจะมาด้วยอาการใจสั่น
กรณีหัวใจเต้นช้า ผู้ป่วยจะมาด้วยอาการ เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม หรือหมดสติ
บางครั้งผู้ป่วยอาจมาด้วยอาการเหนื่อย เนื่องจากจังหวะการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ รบกวน การทำงานของหัวใจ ทำให้มีอาการเหนื่อยได้
แนวทางการรักษา
.
• ให้ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ ได้แก่ Digitalis, Amiodarone, propanol
• การใส่สายสวนหัวใจ เพื่อให้การรักษาโดยการจี้ บริเวณวงจรไฟฟ้าที่ผิดปกติ วิธีนี้ใช้กับผู้ป่วยที่มีจังหัวใจที่เต้นเร็ว
• การรักษาโดยฝัง เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือ Pacemaker ในกรณีหัวใจเต้นช้า
• การฝังเครื่องกระตุกหัวใจ หรือ Internal Defibrillator เพื่อที่จะรักษาผู้ป่วย ในกรณีที่มีจังหวะผิดปกติที่อาจจะทำให้เสียชีวิตได้ เครื่องก็จะปล่อยกระแสไฟฟ้าช็อกให้หัวใจกลับมาให้เป็นปกติได้
หัวใจเต้นผิดจังหวะที่สำคัญ
Sinus bradycardia
สาเหตุ
.
เกิดขึ้นขณะนอนหลับ หรือ ในคนหนุ่มสาวที่มีสุขภาพแข็งแรง
ผู้ป่วยที่มี myocardial infarction ในส่วน inferior หรือ posterior
Parasympathetic ถูกกระตุ้นเช่น อาเจียน กลั้นหายใจ การเบ่งอุจจาระ
ผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ร่างกายขาดออกซิเจน อุณหภูมิร่างกายต่ำ K+สูง หรือ hypothyroid
ได้รับยากลุ่ม calcium channel blocker, beta blocker, digitalis, amiodarone
Sinus Tachycardia
Atrial fibrillation
Atrial flutter
.
ไฟฟ้าเกิดมาจากRt. Atrium และไหลหมุนวนกลับ (re-entry circuit)
เกิด Atrium depolarization มี wave form คล้ายฟันเลื่อย (Flutter wave)
ไม่มี p wave, แต่เป็น Flutter wave
Atrial rate 250-450 ครั้ง/นาที
จังหวะของ atrium สม่ำเสมอ แต่จังหวะของ ventricle ไม่แน่นอน
ปัญหาของ Atrial Flutter เกิดจาก Ventricular rate ที่เร็วมาก ทำให้หัวใจบีบตัวเร็ว ไม่มีเวลาเพียงพอให้เลือดไหลจากหัวใจห้องบนลงมาห้องล่าง จึงทำให้ปริมาตรเลือดในหัวใจห้องล่างก่อนหัวใจบีบตัวมีน้อย ส่งผลให้เลือดถูกบีบออกจากหัวใจน้อยลง เกิด Low cardiac output
Ventricular tachycardia
.
• จุดกำเนิดอยู่ที่ ventricle
• ไม่พบ P wave
• QRS กว้าง
• Rate 150-250 ครั้ง/นาที
Ventricular fibrillation
.
ลักษณะ ventricle เต้นพริ้ว ไม่สามารถบีบเลือดออกจากหัวใจได้
ไม่พบ p wave มีเพียง fibrillation wave
คลำชีพจรไม่ได้
การรักษา
.
ทำ defibrillation 100-200 จูล ทันที
ร่วมกับการทำ CPR อย่างต่อเนื่อง
epinephrin 1 mg IV ซ้ำได้ทุก 3 – 5 นาที
เป็นอาการที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ อาจเต้นเร็วหรือช้าเกินไป ทำให้การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกายไม่มีประสิทธิภาพ และอาจส่งผลให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหลอดเลือดสมองอุดตันได้
ปัญหาทางการพยาบาลผู้ป่วยหัวใจเต้นผิดจังหวะ
.
เสี่ยงต่อ Low Cardiac Output เป็นผลจากการบีบตัวของหัวใจ ไม่มีประสิทธิภาพ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นผลมาจากเลือดในหัวใจห้องบนจับตัวกันเป็นลิ่มเลือดนำไปสู่การเกิด Emboli
เสี่ยงต่อการเกิด Cardiac arrest
การแก้ไขภาวะ low cardiac output
V = Volume ทำให้ผู้ป่วยมี volume เพียงพอ โดยให้ IV fluid/blood
H = Heart แก้ไขให้จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติที่สุด โดยการใช้ยากลุ่ม anti-arrhythmia เช่น Amiodarone หรือ ทำ cardioversion
R = Rate แก้ไขอัตราการเต้นของหัวใจ (60-120) โดยให้ยา digitalis, beta-blocker
S = Stroke ช่วยทำให้หัวใจบีบเลือดออกดีขึ้น โดย
4.1 ใช้ยาขยายหลอดเลือด เพื่อลด Systemic Vascular Resistance เช่น Nitroprusside, Nitroglycerine
4.2 ใช้ยากลุ่ม Inotropics เพื่อเพิ่มแรงบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ เช่น Dobutamine, Dopamine, Norepinephrine
นางสาวณัฐวดี สมบูรณ์ เลขที่ 26 รหัสนักศึกษา 612501028