Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 เรื่อง ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ, นางสาว…
หน่วยที่ 9 เรื่อง ระบบบริการสุขภาพและสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
ระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไทย
สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ซึ่งได้กําหนดสิทธิเกี่ยวกับสวัสดิการที่ผู้สูงอายุต้องได้รับ และพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กําหนดให้รัฐมอบอํานาจให้ท้องถิ่น เป็นผู้ดําเนินการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุเนื่องจากมีความใกล้ชิดและรู้ปัญหา ความ ต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน การมีนโยบายที่ให้ความสําคัญกับบทบาทของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ไม่แยกผู้สูงอายุออกจากชุมชน ทําให้การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุมีหน่วยงานที่รับผิดชอบร่วมกันทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ องค์กรประชาชน ประชาชน และมีบริการหลากหลาย
การจัดบริการโดยรัฐ
กระทรวงการคลัง
การลดหย่อนภาษีแก่ผู้บริจาคทรัพย์สินให้แก่กองทุนผู้สูงอายุ
การลดหย่อนภาษีเงินได้
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
การบริการด้านกีฬาและนันทนาการ
การบริการด้านการท่องเที่ยว
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
จัดหางานและรับสมัครงาน
บริการให้ข้อมูลทางอาชีพและตําแหน่งงานว่าง
ฝึกอบรมทักษะอาชีพแก่ผู้สูงอายุ เช่น การทําขนม การจัดดอกไม้ การตัดเย็บ
กระทรวงวัฒนธรรม
คัดเลือกศิลปินแห่งชาติ
การบริการด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
กระทรวงศึกษาธิการ
บริการการศึกษาสําหรับผู้สูงอายุ โดยมีการจัดบริการการศึกษาอย่างต่อเนื่องในระบบ การศึกษา นอกระบบการศึกษา จัดโครงการฝึกอบรม จัดศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน มีหลักสูตรเกี่ยวกับผู้สูงอายุใน การศึกษาขั้นพื้นฐานถึงอุดมศึกษา
กระทรวงยุติธรรม
การช่วยเหลือในทางคดี โดยการให้คําแนะนํา ปรึกษา ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายและประสานงานกับสภาทนายความในการจัดหาทนายความว่าความแก้ต่างคดี
กระทรวงสาธารณสุข
รับผิดชอบการจัดระบบบริการสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ ซึ่งจัดตั้งบริการต่างๆ
การจัดบริการช่องทางด่วนสําหรับผู้สูงอายุ
ระบบบริการดูแลระยะยาว (Longterm care)
คลินิกผู้สูงอายุ(Geriatric clinic)
ศูนย์ดูแลกลางวัน (Day care)
กระทรวงพานิชย์
การจัดหาตลาดรองรับสินค้า โดยการนําสินค้าเข้าร่วมจําหน่ายในงานต่างๆ หรือการอบรมความรู้ทางด้านการบริหารจัดการและการตลาด
กระทรวงมหาดไทย
การจัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เป็นบริการที่จัดให้แก่ผู้สูงอายุที่ยากจน โดยจ่ายเงินสงเคราะห์เบี้ยยังชีพให้คนละ 500 บาทต่อเดือน
การจัดตั้งศูนย์บริการผู้สูงอายุในวัด โดยชุมชนตนเอง เป็นโครงการที่สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของตนเอง โดยให้วัดหรือสถาบันทางศาสนาอื่น ๆ
กระทรวงคมนาคม
การลดหย่อนค่าโดยสาร
การอํานวยความสะดวกในการเดินทาง
การลดหย่อนค่าโดยสาร
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรม
การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
กองทุนผู้สูงอายุ
การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาครอบครัว
เงินสงเคราะห์ในการจัดการศพ
การช่วยเหลืออาหารและเครื่องนุ่งห่ม
การจัดการอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.)
ศูนย์บริการทางสังคมผู้สูงอายุ
ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อผู้สูงอายุ
หน่วยงานอื่นๆ
หน่วยงานของรัฐยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ ทั่วประเทศ 257 แห่ง เช่น ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร้อุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์ สวนสัตว์ โรงละครแห่งชาติ เป็นต้น
การจัดสวัสดิการผู้สูงอายุโดยชุมชน
การจัดช่องทางด่วนสําหรับผู้สูงอายุในทุกสถานบริการพยาบาล
การจัดระบบบริการดูแลระยะยาว (Long term Care)
การจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุ (Geriatric clinic)
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค
การรักษาพยาบาล
การฟื้นฟูสุขภาพ
การสอนทักษะการดูแลตนเอง
สุขภาพจิต อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ (บูรณาการ)
การจัดศูนย์ดูแลกลางวัน (Day Care)
การส่งเสริมให้มีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ ทุกตําบล ทั่วประเทศ
การจัดโรงพยาบาลที่ให้การดูแลในระยะสุดท้าย
การให้บริการรักษาพยาบาลแก่ผู้สูงอายุฟรี (30 บาทรักษาทุกโรค)
นางสาว ณัฎฐณิชา สวัสดิ์ธรรม
รหัสนักศึกษา 611201113