Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การชักนำการคลอด (Induction of labour), นางสาวชื่นนภา มูลนิคม รหัส…
บทที่ 7 การชักนำการคลอด (Induction of labour)
ความหมาย
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์ หรือทารกในครรภ์มีน้าหนักตัวไม่น้อยกว่า 1,000 กรัม
เป็นการทำให้มดลูกหดรัดตัวและปากมดลูกนุ่มเพื่อให้การคลอดเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการเริ่มต้นของการเจ็บครรภ์เองตามธรรมชาติ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้คลอดคลอดทางช่องคลอด
ข้อบ่งชี้ ทางด้านสูติกรรม
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH) การยุติการตั้งครรภ์จะทาให้ภาวะนี้หายได้และลดอันตรายที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เกินกาหนด เนื่องจากครรภ์เกินกาหนดรกจะมีภาวะเสื่อมสภาพ ทาให้ทารกในครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจนและตายในครรภ์ได้
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์ และไม่เข้าสู่ระยะคลอดเองภายใน 12 ชั่งโมง แพทย์มักจะชักนาให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
การติดเชื้อของถุงน้าคร่า (choroamnionitis) เพื่อลดอาการรุนแรงจากการติดเชื้อของมารดาและทารกในครรภ์
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกาหนด (abruptio placenta)
ทารกพิการแต่กาเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ภาวะน้าคร่าน้อย (oligohydramnios)
ทารกบวมน้า (hydrops fetalis)
ข้อบ่งชี้ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง เนื่องจากอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนทาให้การทางานของไตลดลงและการตายของทารกปริกาเนิดเพิ่มสูงขึ้น
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ข้อห้ามในการชักนำการคลอด
ภาวะรกเกาะต่า (Placenta previa) ภาวะที่มีเส้นเลือดทอดต่าหรือผ่านปากมดลูก (vasa previa) ทารกท่าขวาง CPD, Previous c/s , เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด, Prolapsed cord, Fetal distress, Twins
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสาเร็จในการชักนำการคลอด โดยใช้ Bishop scoring system
ถ้าคะแนนรวมน้อยกว่า 3 ถือว่าปากมดลูกอยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการชักนาคลอด โอกาสล้มเหลว มักเจ็บครรภ์คลอดเนิ่นนานและมีโอกาสผ่าท้องคลอดสูง
ถ้าคะแนนมากกว่า 7 ถือว่าปากมดลูกอยู่ในภาวะที่เหมาะสมต่อการชักนาการคลอด
ถ้าคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ 9 โอกาสที่จะประสบความสาเร็จในการชักนาการคลอดสูงถึง ร้อยละ 100
วิธีการชักนำการคลอดที่นิยม
Medical
Oxytocin
นิยมใช้เพื่อ Augmentation of labor
dose infusion pump and solution 10 u/1000 cc.0.5-2 m u/min ทุก 30 60 นาที until 20-40 mu/minเพื่อให้มดลูกหดรัดตัว 40 90 mmHg (Internal mornitor)Duration 60-90 วินาที ทุก 2 3 นาที
ข้อควรระวัง
มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดศีรษะ
ความดันโลหิตต่ำ
prostaglandins
การใช้ Prostaglandin เพื่อให้ปากมดลูกนุ่ม (Cervical ripening)
ที่นิยมใช้มี Prostaglandin E1W และ E2 (PGE2) (Cytotec)
1.1 Prostaglandin E1 dose 25 ถึง 50 mg intravaginally into proterior fornix ทุก 3
6 ซม. ไม่เกิน 300 400 mg. ใน 24 ซม. เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
ข้อควรระวัง
อาการคลื่นไส้ อาเจียน, ไข้, วิงเวียนศีรษะ, ปวดศีรษะ, ถ่ายเหลว, มดลูกหดรัดตัวรุนแรง (hyper uterine contraction) กว่าปกติอาจเกิดมดลูกแตกได้
1.2 Protaglandin E2 dose 10 mg. intravaginally into posterior fornix ทุก 6 ชม.
ข้อควรระวัง
ปวดศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน, มีไข้, ความดันโลหิตต่า, hyperuterine contraction
Surgical
การเจาะถุงน้าทุนหัว (Amniotomy, Artificial rupture of membrance)
นิยมใช้เมื่อปากมดลูกนุ่มแล้วหรือในรายที่ทาเป็น Augmentation เมื่อการดาเนินการคลอดล่าช้า หรือใช้ร่วมกับการใช้ Oxtocin ในการเจาะถุงน้าทันที สิ่งที่ควรระมัดระวังคือ การ Engaged ของส่วนนาศีรษะเด็กเพราะหากไม่มีการ engagement อาจทาให้มีภาวะ prolapse cord เกิดขึ้นได้ ภายหลังเจาะถุงน้า
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยใช้ยา Oxytocin
ข้อวินิจฉัย
มารดามีโอกาสเกิดภาวะ Tetanic contraction เนื่องจากการได้รับสารละลาย Oxytocin
มารดามีโอกาสเกิดความล้มเหลวในการชักนาการคลอดด้วย Oxytocin
ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะ Fetal distress เนื่องจากการได้รับสารละลาย Oxytocin
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน ตามแผนการรักษา (ส่วนใหญ่นิยมใช้ 5% D/W 1000 cc+Synto 10U)
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดา
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก Interval น้อยกว่า 2 นาที duration มากกว่า 60 วินาที
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5 10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที จนกว่าการหดรัดตัวของมดลูกจะดี คือ Interval อยู่ในช่วง 2 3 นาที Duration อยู่ระหว่าง 45 60 วินาที
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์ โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15 30 นาที หากทารกในครรภ์มีภาวะ Fetal distress ต้องหยุดให้ออกซิโตซินทันทีและรายงานแพทย์
การช่วยเหลือทารกในครรภ์
ให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ให้ I.V Fluid
ให้ O2 6-8 ลิตร/นาที
On Electric Fetal Momitoring เพื่อประเมินสภาวะทารกในครรภ์
การช่วยเหลือการคลอด
พิจารณาการเปิดของปากมดลูกหากปากมดลูกเปิดหมดอาจเตรียมการคลอดด้วยคีม (F/E)
ปากมดลูกเปิดน้อยอาจเตรียมผู้คลอดเพื่อผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
บันทึกเกี่ยวกับ
ขนาดและจานวนของออกซิโตซินที่ได้รับทุก 30 นาที
จานวนของหยดของออกซิโตซินที่ปรับขึ้นหรือลดลง
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 30 นาที
สัญญาณชีพทุก 2 4 ชม. และเสียงหัวใจทารก 15 30 นาที
Record I/O
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับกระบวนการชักนาการคลอด, การคลอด
รับฟังและสอบถามปัญหาของผู้คลอด
ช่วยดูแลการทากิจวัตรประจาวัน
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยการเจาะถุงน้ำทูนหัว
เตรียมเครื่องมือ
เตรียมผู้คลอด
ก่อนแพทย์ลงมือทำ พยาบาลต้องฟังเสียงหัวใจทารก และบันทึกไว้
เมื่อน้าคร่าไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
Thick meconium stain : น้าคร่าเหนียว มีขี้เทาปนปริมาณมาก
Moderate meconium stain : น้าคร่าสีเขียวเทา มีขี้เทาเด็กปนปานกลาง
Mild meconium stain : น้าคร่ามีขาวใสมีขี้เทาเด็กปานเล็กน้อย
Amniotic Fluid clear : น้าคร่าสีขาวขุ่น ใสไม่มีสีขี้เทาเด็กปน
ฟังเสียงหัวทารกทันทีภายหลังเจาะถุงน้าทูนหัว
Flushing และใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณน้าคร่า
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ไม่ควรให้ลุกเดินไปมาเพราะถ้าส่วนนาไม่ติดกับส่วนล่างของมดลูก อาจทาให้เกิดภาวะสายสะดือโผล่
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration ผลการตรวจความก้าวหน้าของการคลอด
บันทึก FHS เป็นระยะๆ อาจทุก 15 30 นาที หากผิดปกติรายงานแพทย์และให้การช่วยเหลือ
บันทึก T, P, R, BP หากมีไข้รายงานแพทย์เพื่อให้ยาปฏิชีวนะ
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้าหล่อเด็กเปียกชุ่มพร้อม Flushing ให้
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
1.1 ภาวะมดลูกแตกจาการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกโดยเฉพาะรายที่เคยผ่าตัดมาก่อนหรือมีภาวะ CPD
1.2 การตกเลือดก่อนคลอดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
1.3 การตกเลือดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอดจากการคลอดเร็วเกินไป (precipitate labor)
1.4 การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้าคร่า เนื่องจากระยะเวลาการชักนาถึงการคลอดนานเกินไป
1.5 เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้าคร่า ซึ่งอาจเกิดได้ขญะที่ทาการเจาะถุงน้าคร่า
ผลต่อทารก
2.1 ทารกคลอดก่อนกาหนดซึ่งเกิดจากแพทย์คาดคะเนอายุครรภ์ผิดพลาด (iatrogenic prematurity) หรือในรายที่มีข้อบ่งชี้จาเป็นต่อการนาให้เกิดการคลอดอย่างเร่งด่วน
2.2 ภาวะทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress) ซึ่งอาจเกิดเนื่องจากการหดรัดตัวของมดลูกมากเกินไป ทาให้เลือดผ่านรกไปเลี้ยงทารกไม่เพียงพอ
2.3 อันตรายจากการเจาะถุงน้าคร่า ได้แก่ ภาวะสายสะดือย้อย การเจาะถูกเส้นเลือดที่ทอดอยู่บนถุงน้าบริเวณที่เจาะ (vasa previa)
2.4 การคลอดเร็วเกินไป อาจทาให้เกิดอันตรายจากการทาคลอด และในทารกที่คลอดก่อนกาหนดมีอุบัติการเลือดออกในสมองสูง
2.5 การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้าและมีการติดเชื้อของถุงน้าคร่า
นางสาวชื่นนภา มูลนิคม รหัส 602701020