Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่5 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, สาเหตุ, นางสาว ณัฎฐณิชา …
หน่วยที่5 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
โรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่1 พบในผู้ป่วยซูบผอม
เบาหวานชนิดที่2 พบในผู้ป่วยรูปร่างอ้วน
โรคสมองเสื่อม
ภาวะสมองเสื่อมที่รักษาไม่ได้
โรคอัลไซเมอร์
มีความเสื่อมลง ของความจำ ร่วมกับมีความผิดปกติทางด้านเชาว์ปัญญาอย่างน้อย1 ด้าน
ภาวะสมองเสื่อมที่รักษาได้
ภาวะความผิดปกติจากกระบวนการเมตาบอลิซึม
ขาดวิตามิน
โรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะสมองได้รับความกระทบกระเทือน
(Hydrocephalus)
โรคเอดส์
โรคติดเชื้อในสมอง
สารพิษ
ภาวะซึมเศร้า
โรคพาร์กินสัน
เป็นโรคเรื้อรังทางระบบประสาท มีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ ที่สมองส่งผลกระทบต่อ basal ganglia
โรคทางตาในผู้สูงอายุ
ต้อลม
ลักษณะเป็นก้อนเนื้อเยื่อ รูปไข่ยกนูนเล็กน้อย สีขาวเหลือง ไม่ขยายขนาด ลุกลามเข้าตาดำ
ต้อเนื้อ
ลักษณะเป็นแผ่นเนื้อ สีแดงๆ รูปสามเหลี่ยมงอกจาก ตาขาวลามเข้าไปในตาดำ
ต้อกระจก
สาเหตุ
ความเสื่อมตามอายุ
ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
วิธีรักษา
การผ่าตัดเอาเลนส์แก้วตาที่ขุ่นออก
ต้อหิน
ต้อหิน มุมปิด
ต้อหินมุมเปิด
ต้อหินแทรกซ้อน
ต้อหินในเด็กเล็กและทารก
จอประสาทตาเสื่อมในผู้สูงอายุ
แบบแห้ง หรือแบบเสื่อมช้า
เห็นภาพมัว
แบบเปียก หรือแบบเร็ว
การมองเห็นเส้นตรงเป็นคลื่น
สาเหตุ
การเสื่อมสภาพตามอายุ
ปัจจัยร่วม
การรักษาโรคจอประสาทตาเสื่อม
การฉีดยาเพื่อยับยั ้งเส้นเลือดใหม่ที่งอกขึ ้นมา
การรักษาด้วยการยิงเลเซอร์
ผ่าตัด
โรคข้อเข่าเสื่อม
อาการเริ่มแรกที่เตือนให้รู้ว่าเข่ากำลังมีปัญหา
เข่าอ่อนหรือเข่าสะดุดติด
เข่าบวม
เข่าฝืดหรือยึดติด
เจ็บปวด
วิธีป้องกันและการปฏิบัติ
บริหารกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อนั้นให้แข็งแรง
ลดการใช้งานข้อนั้นในท่าที่ผิดจากธรรมชาต
ขณะที่มีอาการปวด ควรรีบปรึกษาแพทย์
ควบคุมไม่ให้อ้วนเกินไป
โรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุนแบบปฐมภูมิ
การป้องกัน
การรักษาหรือการ กระทำใดๆ ที่ให้กับ ผู้ที่ยังมิได้เกิดภาวะกระดูกบาง (Osteopenia หรือ low bone mass) โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกัน ไม่ให้กระดูกบางลง หรือ เพื่อ ชะลอให้กระดูกบางช้าที่สุด
โรคกระดูกพรุนแบบทุติยภูมิ
การป้องกัน
การรักษาหรือการ กระทำใดๆ ที่ให้กับ ผู้ที่มีกระดูกบางแล้ว (Osteopenia) แต่ยังไม่ได้ถึงขั้น กระดูกพรุน (Osteoporosis) โดยมีจุดประสงค์ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรค กระดูกพรุน หรือชะลอให้เกิดโรคกระดูกพรุนช้าที่สุด
ทางเลือกในการป้องกันโรคกระดูกพรุน
ไม่ใช้ยา
ลดน้ำหนัก
การรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมอย่างพอเพียง
ควรได้รับแสงแดดอ่อนๆ อย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพที่เป็นความเสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุนและกระดูกหัก
ดูแลรักษาโรคทางอายุรกรรมที่อาจมีผลให้สูญเสียกระดูกได้เร็วขึ้น
ใช้ยา
การใช้ฮอร์โมนเพศ
การใช้ยาที่มิใช่ฮอร์โมนเพศ
ปัญหาการได้ยินในผู้สูงอายุ
ผลกระทบ
ผู้สู้งอายุที่สูญเสียการได้ยินต้องเผชิญกับความทุกข์วิตกกังวล ซึมเศร้า
การพยาบาล
พยาบาลควรให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแล
การแนะนำการใส่เครื่องช่วยฟัง
ตรวจหูผู้สูงอายุและคัดกรอง
แนะนำการลดปัจจัยเสี่ยง
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
เภสัชจลศาสตร์
กระบวนการนี้จะกำหนด “ความเร็ว” และ “ปริมาณยาที่ไปสู่ตำแหน่ง ออกฤทธิ์” และ “กำหนดระยะเวลาการออกฤทธิ์ของยา”
กระบวนการที่ร่างกายจัดการกับยานี้เรียกว่า เภสัชจลศาสตร์(Pharmacokinetic)
เมื่อให้ยาแก่ผู้ป่วยร่างกายมีกระบวนการต่างๆ ซึ่งจะจัดการกับยา
การเปลี่ยนแปลงด้านเภสัชจลศาสตร์
การเคลื่อนไหวลำไส้ลดลง กระเพาะเป็นด่างสูงขึ้น การหลั่งกรดในกระเพาะลดลง
ลดกระบวนการดูดซึมของสารต่างๆ เช่น กลูโคส วิตามินบี 12
การดูดซึมยา Absorption
ปัญหาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ชอบ ที่ปรารถนา ของผู้พบเห็น
พินัยกรรม
พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
พินัยกรรมแบบธรรมดา
พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
พินัยกรรมแบบวาจา
รูปแบบความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ
ความรุนแรงทางจิตใจ
การทอดทิ้ง/ปล่อยปละละเลย
ความรุนแรงทางร่างกาย
การละเมิดสิทธิผู้สูงอายุ
การละเมิดทางเพศ
การพลัดตก/หกล้ม
การล้มแบบพลาดหรือสะดุด
การล้มแบบลื่น ไถล
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
COPD is a chronic inflammatory lung disease that usually becomes clinically apparent later in life, and it can lead to significant morbidity and premature death.It characterized by limitation of expiratory airflowAirflow limitation is mostly due to fixed airway obstructionProgressive in natureIt comprised primarily of - chronic bronchitis and emphysema.
เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ
ปัจจัย
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายเพศชาย
ปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ปัจจัยด้านทัศนคติต่อการแสดงออกทางเพศสัมพันธ์
ปัจจัยความเจ็บป่วยและการใช้ยา
บทบาทของพยาบาล
การประเมินปัญหา
แนวทางการช่วยเหลือ
ปัญหาความผิดปกติในการขับถ่าย
ต่อมลูกหมากโต
การรักษาต่อมลูกหมากโต
อาการระดับรุนแรง
TUR-P
ผ่าตัดต่อมลูกหมากด้วยเลเซอร์พีวีพี
อาการระดับปานกลาง แพทย์ให้กินยา
การรักษาแบบประคับประคอง : ปัสสาวะลำบาก ไม่ออก สวนปัสสาวะทิ้งเป็นครั้งคราว ถ้ามีการอักเสบให้ ยาปฏิชีวนะ
อาการเล็กน้อย แพทย์จะแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
Functional incontinence
Overflow incontinence
Urge incontinence
Stress incontinence
ภาวะท้องผูก
หรือการถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์ หรือถ่ายอุจจาระลำบาก
อุจจาระแห้งแข็ง ต้องเบ่ง หรือรู้สึกถ่ายอุจจาระไม่หมด
โรคความดันโลหิตสูง
ผลกระทบ
. ภาวะหลอดเลือดแข็งตัว
ภาวะแทรกซ้อนที่หัวใจ
ภาวะแทรกซ้อนที่จอประสาทตา
. ภาวะแทรกซ้อนที่ไต
ภาวะแทรกซ้อนที่ระบบประสาท
การรักษาโรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
การจำกัดปริมาณโซเดียม
การปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารไขมัน
ออกกำลังกาย
การจำกัดปริมาณแอลกอฮอล์
การลดน้ำหนัก
การงดสูบบุหรี่
การลดความเครียด
การรักษาโดยใช้ยา
diuretic
beta-blockers เช่น propranolol,atenolol,metoprolol
angiotensin convertingenzymeinhibitors (ACE inhibitors)
angiotensin-II receptorblocker (ARB)
calcium channelblocker (CCB)
ระบบบริการสุขภาพและสังคมสาหรับผู้สูงอายุ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2546
มาตรา 11 ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริมสนับสนุนด้าน ต่างๆ
สิทธิได้รับการบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ
สิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
สวัสดิการรักษาพยาบาล ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
มาตรา 53 บุคคลซึ่งมี อายเุกินหกสิบปี บริบูรณ์ และไม่มี รายได้ เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความ สะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี
มาตรา 80 รัฐต้อง ดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุขการศึกษาและวัฒนธรรม
สาเหตุ
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
สิ่งก่อสร้างที่ไม่เหมาะสม
แสงสว่างที่ไม่เหมาะสมในที่พักอาศัย แสงสลัว
พื้นที่มีลักษณะไม่ปลอดภัย
เครื่องเรือนที่ไม่เหมาะสม
เครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ช่วยในการเคลื่อนไหวที่ไม่เหมาะสม
ปัจจัยภายในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายจากความเจ็บป่วย
นางสาว ณัฎฐณิชา สวัสดิ์ธรรม
รหัสนักศึกษา 611201113