Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8.3 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะติดเชื้อหลังคลอด - Coggle Diagram
บทที่8.3
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะติดเชื้อหลังคลอด
ขั้นประเมินข้อมูล
• การประเมินสาเหตุของการติดเชื้อ
ปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการติดเชื้อหลังคลอด
ประเมินบริเวณที่มีการติดเชื้อ
• ฝีเย็บ
• เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ (Endometritis) Endometritis)
• หลอดเลือดดาอักเสบในอุงเชิงกราน
• การติดเชื้อกระจายออกนอกมดลูก ได้แก่ เยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนอง ในอุ้งเชิงกราน
การให้พยาบาล
• การพยาบาลเพื่อการป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
• การให้คำแนะนาในการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาส่วนบุคคล
• การพยาบาลเมื่อมีอาการ
• มีไข้ การระบายหนอง ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
• อาการปวด
• การส่งเสริมให้น้าคาวปลาไหลดี
• จัดให้นอนท่า Fowler ’ position
• การพยาบาลขณะมีอาการรุนแรง
• ดูแลการให้สารน้าและอาหารทางหลอดเลือด
• การเตรียมอุปกรณ์กู้ชีวิตกรณีคาดว่าอาจมีภาวะช็อก
ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ(Hematoma)
สาเหตุ
• การเย็บไม่ถึงก้นแผล
• การแตกของ เส้นเลือดดาขอด (varicose vein)
• มีรายงานเกิดจากการแตกของหลอดเลือดโป่งพอง (aneurysm) บริเวณ hypogastric artery
อาการ
• ปวดบริเวณทีมีก้อนเลือดคั่งชัดเจน
• รู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
• อาจจะมีปัญหาปัสสาวะ หรือ อุจจาระลาบาก
การรักษา
• ถ้าขนาดของก้อนเลือดคั่งไม่ใหญ่ จะรักษาตามอาการและใช้น้าแข็งกดทับ ให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
• ใส่สายสวนปัสสาวะไว้ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะเองไม่ได้
• รักษาโดยวิธีผ่าตัดเข้าไปเอาก้อนเลือดคั่งออ
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
สาเหตุ
• ภาวะที่จิตใจหม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง
• มองโลกในแง่ร้าย จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
• อาการเด่นชัดหลังคลอด 2-3เดือน มีอาการนานกว่า 2สัปดาห์
การรักษา
การบาบัดด้วยยา
เข้ากลุ่มจิตบาบัด
การพยาบาล
• การดูแลให้มารดาได้รับความสุขสบายและการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
• อธิบายสาเหตุความไม่สุขสบายและความแปรปรวนของอารมณ์และจิตใจในระยะหลังคลอด
• ให้ความสนใจ สร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่มารดา พูดคุยให้การดูแลเอาใจใส่ ให้กาลังใจมารดาสม่าเสมอ
• และควรแนะนาสามี และญาติให้กาลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือมารดาในการดูแลทารกทันที ที่พบว่ามารดา เริ่มมีความยุ่งยากในการดูแลบุตร
• ในรายที่มีอาการรุนแรงพยาบาลควรเพิ่มความสังเกต ดูแลอย่างใกล้ชิด
ภาวะจิตประสาทหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการ
อาการมักจะเริ่มตั้งแต่ 48-72ชั่วโมง หลังคลอด และไม่พบอาการในผู้ป่วยหลังคลอดเกิน 2สัปดาห์แล้ว
มีอาการรุนแรงทันที นอนไม่หลับ กระสับกระส่ายหงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน วิตกกังวลอย่างมาก อาการต่อมาคือ สับสน จาเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจาเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลก ๆ ร้องไห้คร่าครวญหลงผิด หวาดระแวง ประสาทหลอน หูแว่ว บางรายซึม เบื่ออาหาร มีความติดว่าบุตรจะถูกแย่ง ถูกขโมย ตาหนิตนเอง ลงโทษว่าตนไม่ดี คิด และพยายามฆ่าตัวตาย
การรักษา
รับรักษาในโรงพยาบาล และงดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
การใช้ยา
• สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
• ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคาพูด
• ป้องกันการทาร้ายตนเอง
• สิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเก็บให้พ้นบริเวณที่มารดาพัก เช่นมีด กรรไกร
• ดูแลให้ได้รับยา