Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น…
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
แบ่งได้ 2 ส่วน
2.ความพิการของการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย เช่น มีภาวะต่อมไทรอยด์บกพร่อง หรือกลุ่มโรคโลหิตจาง
ความพิการทารกตั้งแต่กำเนิดที่พบได้บ่อยที่สุด
2.แขนขาพิการ
3.ปากแหว่งเพดานโหว่
1.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
4.กลุ่มอาการดาวน์
1.ความพิการทางด้านโครงสร้างของร่างกาย เช่น คลอดออกมาแล้วเป็นโรคหัวใจ ปากแหว่งเพดานโหว่แขนขาขาด
การจำแนกความพิการแต่กำเนิดตามกลไกการเกิด
2.Deformation
เกิดจาการที่มีแรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะผิดรูปไปในระหว่างการเจริญพัฒนาของอวัยวะนั้น
ข้อติด
ภาวะเนื้องอกมดลูก
เท้าปุก
3.Disruption
ภายนอกรบกวนกระบวนการเจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
ทารกขาดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย
มีการฉีกขาดของ amnion ทำให้เกิด amniotic band ผูกรัดแขนของทารกเกิด limbs defect
4.Dysplasia
ความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย
Skeletal dysplasia
1.Malformation
เกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ อาจเกิดจากพันธุกรรม หรือสิ่งแวดล้อม
เท้าปุก
ติ่งบริเวณหน้าหู
นิ้วเกิน
นิ้วแยกกันไม่สมบูรณ์
เพดานโหว่
ปากแหว่ง
ปัจจัยความพิการแต่กำเนิด
1.พันธุกรรม
2.จากสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะจากมารดาในระหว่างตั้งครรภ์
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม
สารปรอททำให้เกิดการแพ้พิษสารปรอท
รังสีเอ๊กซ์ สารกัมมันตรังสีทางการแพทย์
มีความผิดปกติของกระดูกสันหลังหากมารดาได้รับตั้งแต่อายุครรภ์ 2 สัปดาห์ - 3 เดือน
ขาดอาหารขาดวิตามิน
ขาดวิตามินจะทำให้เกิดการพิการ ปากแหว่ง เพดานโหว่
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ครรภ์เป็นพิษ รกเกาะผิดที่ทำให้เกิดเลือดออกระหว่างคั้งครรภ์
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติด
เช่น ยาแก้อาเจียน กลุ่ม ยาดองเหล้า แอลกอฮอล์ เด็กอาจพิการ
มารดามีอายุมากเกินไป
ดาวซินโดรม โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง
โรคติดเชื้อ
โรคหัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์ได้ไม่เกิน 16 สัปดาห์
ปากแหว่งเพดานโหว่
การวินิจฉัย
3.การตรวจร่างกาย โดยการสอดนิ้วตรวจเพดานปากภายในหรือดูในช่องปากเวลาเด็กร้อง
1.สามารถตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ 13-14 สัปดาห์
2.การซักประวัติเพื่อหาสาเหตุทางกรรมพันธ์
อาการและอาการแสดง
การดูดกลืนจะผิดปกติเนื่องจากอมหัวนมไม่สนิท
หายใจลำบาก
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้มีปัญหาการได้ยินผิดปกติ
การแก้ไขเพดานโหว่
3.การผ่าตัดแก้ไขจมูก ทำเมื่ออายุประมาณ 3 ปี และตามด้วยการฝึกพูด
1.แพทย์จะปรึกษาฑันตแพทย์ เพื่อใส่เพดานเทียม เปลี่ยนทุก 1 เดือน ป้องกันการสำลัก
5.รักษาความผิดปกติที่หลงเหลือยู่
2.ผ่าตัดเพดานเพื่อให้มีการพูดให้ชัดเจนใกล้เคียงปกติมากที่สุด
4.มาอายุประมาณ 5 ปี ปรึกษาฑันตแพทย์จัดฟัน
การพยาบาล
การพยาบาลหลังผ่าตัด
Cleft lip
3.สอนบิดามารดาทำความสะอาดแผล
4.จัดท่านอนหงายหรือตะแคง เพื่อป้องกันการเสียดสี
2.ระวังสิ่งคัดหลั่งจากจมูกมาปนเปื้อนแผล
5.ป้ายยาครีมปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
1.ระมัดระวังไม่ให้แผลดึงรั้งโดยการปลอบโยนให้เด็กสงบเมื่อร้องไห้
cleft palate
1.สังเกตอาการสำลักอาหาร
2.ห้ามอ้าปากทารกกว้างๆ
3.ห้ามดูดเสมหะในช่องปาก
4.ห้ามนำของแข็งเข้าปาก เช่น แปรงสีฟัน
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
1.บิดามารดาวิตกกังวลเกี่ยวกับความพิการแต่กำเนิด
3.ให้ข้อมูลคำแนะนำอธิบาย เกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
4.ปลอบโยนให้กำลังใจ
2.เปิดโอกาสให้บิดามารดาได้ซักถามถึงอาการเจ็บป่วย
1.ประเมินความวิตกกังวลของบิดามารดาเพื่อการให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
2.บิดามารดา ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธีการรักษา
3.แนะนำการดูแลในระยะก่อน หลังผ่าตัด
4.เสริมแรง ให้กำลังใจ
2.สอนการป้อนนมอย่างถูกวิธี
1.ประเมินความรู้ความเข้าใจบิดามารดา
การให้นมอย่างถูกวิธี
5.จับไล่ลมเป็นระยะๆทุก 15-30มิลลิลิตรเสมอหลังให้นมนอนศีรษะสูง 30 องศา
6.ป้อนน้ำตามทุกครั้งและทำความสะอาดช่องปากเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
3.ถ้าเด็กดูดไม่ได้ใช้ช้อนป้อน
7.ในเด็กหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด เป็นเมล็ด
2.จุกนมต้องยาว รูออกจะต้องใหญ่กว่าปกติเล็กน้อย จะได้ดูดสะดวก
8.การใส่NG tube เป็นทางเลือกสุดท้าย
1.จัดท่าศีรษะสูง 30-45 องศา
4.ดุดครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
Abdominal compartment syndrome
ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยหลสยระบบ เช่น หายใจลำบาก ความดันโลหิตสูง ไตวาย
การดูแลเพื่อลดแรงดันในช่องท้อง
ให้ยาระงับปวด
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและลำไส้ใหญ่
ฟอกไตเพื่อดึงน้ำออกจากร่างกาย
ใส่สายระบายช่องท้อง
การที่ความดันในช่องท้องเพิ่มสูงขึ้น > 20 mmHg ซึ่งทำให้เกิดอวัยวะล้มเหลวตามมา
รูเปิดท่อ ปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
การผ่าตัด
แก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
1.ผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว เป็นการผ่าตัดแก้ไของคชาต ยืดตรง พร้อมกับการตกแต่งท่อปัสสาวะ
2.ผ่าตัดแบบ 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย
ขั้นที่ 2 urethroplasty หลังผ่าตัด orthoplasty แล้ว 6 เดือน เพื่อให้บริเวณที่ผ่าตัด อ่อนนุ่ม
ขั้นที่ 1 orthoplasty ผ่าตัดแก้ไของคชาต โค้งงอ โดยตัดเลาะเนื้อเยื่อที่ดึงรั้งเพื่อให้องคชาตยืดตรึง
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
2.ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
1.ประเมินความวิตกกังวล
หลังผ่าตัด
ใช้เทคนิคการปลอดเชื้อในการทำแผล
ประเมินความปวดของเด็กให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
เก็บปัสสาวะส่งตรวจตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด
ให้บิดารมารดาดูแลอย่างใกล้ชิด
คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
บิดามารดากระตุ้นให้เด้กดื่มน้ำมากๆทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยาน
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก
อธิบายอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ แผลแดงอักเสบ ปัสสาวะขุ่นมีตะกอน
ทำความสะอาดให้เด็กทุกครั้งหลังถ่ายอุจจาระเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
Esophageal stenosis/Fistula/atressia
การพยาบาลหลังผ่าตัดแก้ไชหลอดอาหาร
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบหายใจลำบากหรือหยุดหายใจเนื่องจากสำลักน้ำลายหรือน้ำย่อยเข้าหลอดลม
On NG tube
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซเจน
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
จัดท่านอนที่เหมาะสม
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
บันทึก ลักษณะ สีจำนวนของสารคัดหลั่ง
จัดท่านอนศีรษะสูง
ตรวจสอบการทำงานของ ICD
อาการและอาการแสดง
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ อาจพบอากาศในกระเพาะอาหาร น้ำ เกลือแร่ และการสำลัก ส่วนใหญ่จะมี โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ความผิดปกติของลำไส้เล็ก
Omphalocele / Gastroschisis
การวินิจฉัยและอาการแสดง
เด็กอาจตัวเล็กคลอดก่อนกำหนด
ไม่มีผนังหน้าท้อง ทำให้ลำไส้ปนเปื้อนความสกปรกจากภายนอกทำให้มีการติดเชื้อ
หลังคลอดพบผนังหน้าท้องซึ่งมักจะอยู่ขวาต่อสายสะดือ เป็นช่องโหว่ มีอวัยวะภายในออกมาเช่น ลำเล็ก ลำไส้ใหญ่
อุณหภูมิร่างกายต่ำ เด็กตัวเย็น
ตรวจอันตราซาวด์ อายุครรภ์ 10 สัปดาห์
อาจพบความผิดปกติอื่นร่วมด้วย เช่น malrotation
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
3.พยายามประคับประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้ง
4.ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
2.ระวังการ Contaminate โดยต้องใช้ sterile technique
1.Keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer หรือไว้ใน incubator
หลังผ่าตัด
3.ติดตามการทำงานของลำไส้
4.สังเกตอาการท้องอืดอย่างรุนแรง ปัสสาวะออกน้อยลง ความดันในช่องอกสูงขึ้น
2.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารตามแผนการรักษา เนื่องจากลำไส้ของเด็กที่เป็น มีการอักเสบ บวม และเกาะติดกันเป็นกระจุก
1.ดูแลเด็กที่ให้ได้รับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48ชั่วโมงแรก
การรักษา
การผ่าตัดเปิดหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก เป็นการปิดหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรกโดยดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้อง
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน ในกรณีดันลำไส้กลับเข้าในช่องท้องทำให้ผนังหน้าท้องตึงไม่สามารถเย็บปิด fasciaได้
Aanorectal malformation
พยาธิสภาพ
ชนิดของความผิดปกติ
Anal stenosis รูทวารหนักตีบแคบ
Impreforate and membrane มีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
Recyal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
Anal agrnesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
อาการและอาการแสดง
3.ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
4.กระสับกระส่าย อึดอัด
2.ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิด
5.แน่นท้อง ท้องอืด
1.ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชม ถ้เลย ยังไม่ถ่ายอุจจาระแสดงว่าลำไส้อุดตัน
6.ปวดเบ่งอุจจาระ
7.ตรวจพบกากอาหารค้างในทางเดินอาหาร
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
2.สอนการดูแลในการถ่างขยายรูทวารหนัก ให้ยาแก้ปวดก่อนถ่างขยาย
3.แนะนำให้บิดามารดาให้อาหารที่มีประโยชน์ตามวัย มีกากใยอาหารสูง
1.ให้ความรู้กับบิดามารดาเกี่ยวกับการดำเนินโรค
หลังผ่าตัด colostomy
2.กรณีมีการรั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่
3.สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆ ถ้ามีการอักเสบ รายงานแพทย์
1.ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล
4.แนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง มีกากใย
5.แนะนำการมาตรวจตามนัด
เป้าหมายการรักษา
เพื่อผู้ป่วยสามารถถ่ายอุจจาระได้ มีความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ กลั้นอุจจาระได้
นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น 36/2 เลขที่ 65 รหัสนักศึกษา 612001146