Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8.2 - Coggle Diagram
บทที่8.2
ภาวะหลอดเลือดดาอักเสบในอุงเชิงกราน (Pelvic Thrombophlebitis)
สาเหตุ
• เกิดจากการติดเชื้อบริเวณมดลูก โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นที่เกาะของรกบริเวณ Fundus
• การอักเสบของเส้นเลือดในบริเวณกล้ามเนื้อมดลูกลุกลามเข้าไปใน Ovarian Vein ซึ่งข้างขวาจะเข้า Inferior Vena Cava ข้างซ้ายจะเข้า Renal Vein Renal VeinRenal Vein
อาการ
• ปวดบริเวณท้องน้อยด้านล่างและปวดบริเวณสีข้าง (Flank) Flank) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่าง
• ตรวจพบก้อนบริเวณ Parametrium กดเจ็บตามเส้นเลือดที่มีการอักเสบ
• มักจะมีอาการปวดบริเวณที่มีการอักเสบในวันที่สองหรือสามหลังคลอด
• อาจจะมีไข้หรือไม่มีก็ได้
• ผลตรวจ CT หรือ MRI MRI
การรักษา
• การรักษาการติดเชื้อที่สาคัญ คือ การให้ยาปฏิชีวนะ
ส่วนการให้ Heparin ร่วมด้วยเชื่อว่าอาจทาให้ไข้ลดลงช้าลง
เต้านมอักเสบ (Breast Abscess)
สาเหตุ
มีการติดเชื้อ เชื้อที่พบบ่อยคือ Staphylococcus Aureus ถ้าไม่รักษาจะเกิดอาการรุนแรง
หัวนมแตก ถลอกหรือมีรอยแตก จากการบีบนวดเต้านมมากๆ เต้านมคัดมาก ท่อน้านมอุดตัน และจากการดูดนมของทารกที่มีเชื้อในจมูก และคอ โดยเชื้อเข้าสู่ท่อนมโดยตรง
อาการ
• มีไข้
• ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลักษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด
• ผิวหนังจะนุ่ม เป็นมัน ต่อมน้าเหลืองที่รักแร้อาจโต และเจ็บ
การรักษา
• เพาะเชื้อน้านมข้างที่มีการอักเสบก่อนเริ่มรักษา
• ให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อที่พบบ่อย
• ให้ยาแก้ปวด
• ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีอาการปวดมาก
• การเจาะระบายหนอง นิยมวิธีใช้เข็มเจาะดูด (needle aspiration)
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ Episiotomy infection
สาเหตุ
• การติดเชื้อสัมพันธ์กับการแยกของแผล
• ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดแผลแยกอื่นๆ เช่น ความผิดปกติของระบบการแข็งตัวของเลือด การสูบบุหรี่ การติดเชื้อ HPV
• มีอาการปวดเฉพาะที่ที่แผล ปัสสาวะลาบาก อาจมีปัสสาวะคั่งหรือไม่ก็ได้
• มีไข้ มักจะเป็นไข้ต่าๆ
• ลักษณะของแผลติดเชื้อ
• เริ่มจากขอบแผลบวม เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลแดง
• ไหมที่เย็บอาจขาดหลุดออกมา จนทาให้เกิดการแยกของแผล
• มีหนองตามมา
การรักษา
• ขจัดเนื้อตายและเปิดระบายหนองร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
• ในรายที่มีลักษณะแผลอักเสบแต่ยังไม่มีหนอง สามารถให้ยาปฏิชีวนะอย่างเดียว
• การดูแลแผลให้ sitz bath บ่อยๆทุกวัน
• ให้ยาแก้ปวด
การติดเชื้อที่แผลแผลผ่าตัด(Abdominal incisional infections)
สาเหตุ
• ปัจจัยเสี่ยง เช่น DM, HT, Obesity ect .
• เริ่มแสดงอาการไข้ตั้งแต่ 4 วันหลังผ่าตัด หรือในบางราย อาจพบว่ายังมีไข้ต่อเนื่องในขณะได้รับยาปฏิชีวนะ
• บริเวณแผลจะแดงและมีหนอง
การดูแลรักษา
• การให้ยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการผ่าตัดระบายหนอง
• ทาแผลแบบเปียก (wet dressing) 2 ครั้งต่อวัน
• เริ่มมีการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ 4-6 วัน แล้วจึงเย็บปิดแผล ด้วยไหม