Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ,…
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ
การคลอดโดยใช้คีม (Forcep extraction)
ประเภทของคีม
Short Curve Forcep เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกมาอยู่ต่าบริเวณฝีเย็บแล้วผู้ทาคลอดใช้แรงดึงน้อย และเกิดอันตรายน้อย
Long Curve Axis Traction Forcep เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกอยู่ค่อนข้างสูง ซึ่งมีทั้ง Cephalic curve และ Pelvic curve ซึ่งมี lock แบบ English lock ซึ่งออกแบบให้ใส่คีมข้างซ้ายก่อน
Kielland Forceps เป็นคีมที่ใช้การหมุนของศีรษะทารกภายในอุ้งเชิงกราน ไม่มี Pelvic curve แต่มี Sliding lock เพื่อช่วยแก้ปัญหา Deep transverse arrest of head
หน้าที่ของคีม
Extractor (ตัวดึง) จะใช้ในผู้คลอดที่ไม่มีแรงเบ่งพอหรือไม่ต้องการให้ผู้คลอดออกแรงเบ่งในท่าศีรษะเป็นส่วนนาโดยใช้ Simson forcep และในกรณีท่าก้นจะใช้คีมทาคลอดศีรษะโดยใช้ Piper forceps
Rotation (ตัวหมุน) ใช้ในกรณี Deep transverse arrest of head โดยใช้ Kielland Forceps
ชนิดของการทำคลอดด้วยคีม
การทำคลอดด้วยคีมเมื่อศีรษะมี engagement แล้ว โดยต้องทำการช่วยเหลือโดยการหมุนก่อนเมื่อเริ่มดึงถือว่าเป็น Mid Forceps
Low Forceps หมายถึง การทำคลอดด้วยคีมเมื่อเห็นหนังศีรษะที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์โดยไม่ต้องแยก Labia และกะโหลกศีรษะอยู่บน Pelvic floor รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลัง
ข้อบ่งชี้
1. การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน (Prophylactic or Elective) จะทำเมื่อแรกเข้าสู่ระยะเบ่งเพื่อ
ช่วยลดความกดดันบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้คลอดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
ป้องกันสมองถูกทำลายจากภาวะพร่องออกซิเจน
2. ข้อบ่งชี้ด้านแม่
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor หรือ Rigid perineum
ส่วนนาของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
3. ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
สภาวะที่เหมาะสมในการทำ
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนากับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ถุงน้าคร่าแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ภาวะแทรกซ้อน
1. ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทาด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
2. ต่อทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Clavical plexus จะทาให้เกิด Erb’ s Palsy
คีมกด Facial nerve จะทาให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาล
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน เช่น การคลอดติดขัด การช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ ทารกเสียชีวิตจากการคลอด การเจ็บปุวยของบุคคลในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง เพื่อประเมินท่า และขนาดของทารก การหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจช่องทางคลอดเพื่อประเมินลักษณะของปากมดลูก เชิงกรานมารดาและขนาดของทารก
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์ เช่น การฟังเสียงหัวใจทารก
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยคีมซึ่งอาจจะมืผลต่อการปฏิบัติตัวและความร่วมมือในการช่วยคลอด
ข้อวินิจฉัย
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทาคลอดด้วยคีม
ทารกแรกเกิดมีโอกาสได้รับบาดเจ็บจากการคลอโดยใช้คีม
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ข้อบ่งชี้
Uterine inertia โดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิดความล่าช้าในระยะที่ 2 ของการคลอด
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia ซึ่งเกิดจาก Fetal distress
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกติ เช่น Deep transverse arrest of head หรือ Occiput posterior position
ข้อห้ามในการทำ
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีการพลัดต่าของสายสะดือ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสมในการทำ
ปากมดลูกเปิดหมด แต่ถ้าในกรณีจำเป็นอาจทำตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 8 เซนติเมตรขึ้นไป และปากมดลูกมีความบางเต็มที่
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ภาวะแทรกซ้อน
1. ด้านมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทาด้วยความนุ่มนวล
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
2. ด้านทารก
อาจจะเกิด Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทาให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
ข้อวินิจฉัย
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทาคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
ทารกแรกเกิดมีโอกาสได้รับบาดเจ็บจากการคลอโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
การพยาบาล
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน เช่น การคลอดติดขัด การช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตรหัตถการ ทารกเสียชีวิตจากการคลอด การเจ็บปุวยของบุคคลในครอบครัว
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง เพื่อประเมินท่า และขนาดของทารก การหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจช่องทางคลอดเพื่อประเมินลักษณะของปากมดลูก เชิงกรานมารดาและขนาดของทารก
การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพทารกในครรภ์ เช่น การฟังเสียงหัวใจทารก
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ ซึ่งอาจจะมีผลต่อการปฏิบัติตัวและความร่วมมือในการช่วยคลอด
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นการตรวจสภาพความสมบูรณ์ของทารกโดย Ultrasound การตรวจความเข้มข้นของเลือดมารดา การตรวจปัสสาวะเพื่อหา albumin และ sugar
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง (Cesarean Section)
ทารกต้องมีน้าหนักตัวไม่ต่ากว่า 1,000 กรัมมีสองชนิด
Classic cesarean
lower – segment cesarean
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
4.มะเร็ง ปากมดลูก
ข้อบ่งชี้ร่วม
Previous C/S,
Ante partum hemorrhage
3.Fetal distress
4.ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ยาระงับความรู้สึก
Spenal block
Epidural block
GA
Vaginal Birth After Cesarean (VBAC)
การพยาบาล
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดาเพื่อการผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
การเตรียมความพร้อมทางด้านจิตใจ
ประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด (Assessment)
ประเมินการหายของแผล
การติดเชื้อ
ปริมาณสารอาหารและน้า
หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะและลาไส้
หน้าที่ของระบบการหายใจ
ทักษะในการเลี้ยงดูทารกของมารดา
ความคิดเห็นของมารดาและครอบครัวต่อการผ่าตัดครั้งนี้
ช่วยเหลือให้มารดาได้รับความสุขสบายให้มากที่สุด
อธิบายให้มารดาทราบถึงความต้องการของหญิงคลอด ลักษณะอารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นเรื่องปกติ
แนะนำมารดาในเรื่องการพักผ่อนภายหลังผ่าตัด การออกกำลังกายซึ่งสามารถทำได้ เมื่อรู้สึกว่าไม่มีความเจ็บปวดบริเวณที่ผ่าตัดหรือหน้าท้อง
ข้อวินิจฉัย
ที่พบบ่อย
ไม่สุขสบาย/เจ็บปุวยแผลผ่าตัดที่หน้าท้อง
แบบแผนการนอนหลับถูกรบกวน บกพร่องในการเคลื่อนไหว
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลง
นางสาวชื่นนภา มูลนิคม รหัส 602701020