Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร, 1592328481273 - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
ความผิดปกติของกระเพาะอาหาร
Gastritis กระเพาะอาหารอักเสบ
การอักเสบของ gastric mucosaจากสารระคายเคืองและความบกพร่องกลไกป้องกัน
mucosaเกิดอันตรายต่อเส้นเลือด→บวม →เลือดออก →รอยถลอก →เสี่ยงเป็นมะเร็ง
Acute gastritis
สาเหตุ ระคายเคืองจาก อาหาร ยา แอลกอฮอล์ การติดเชื้อ
พยาธิสภาพเริ่มจากอาการเลือดคั่งและบวมของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
อาจพบรอยโรคเรียก acute hemorrhagic erosive gastritis
Chronic gastritis
สาเหตุ
การท้นกลับน้าดี,การระคายเคืองเรื้อรัง การดื่มเหล้า ยาASA การติดเชื้อ Helicobacter pylori
รอยโรค
รอยแผลเป็น→ลุกลามเลือดออก แผลในกระเพาะอาหาร
Peptic ulcer แผลในกระเพาะอาหาร
คือ
-ภาวะที่เยื่อบุกระเพาะอาหารถูกทำลาย และเกิดแผลบริเวณเยื่อบุกระเพาะอาหาร
-พบโรคนี้ได้ทุกเพศทุกวัย
-ตำแหน่งที่พบได้ เช่น หลอดอาหารส่วนล่าง กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็กส่วนต้นที่ติดกับกระเพาะอาหาร
-เกิดจากความเสียสมดุลระหว่างปริมาณกรดที่หลั่งในกระเพาะอาหาร กับความต้านทานต่อกรด
Acute ulcer
โรคกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน
เป็นแผลลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
แผลมีลักษณะเรื้อรัง ขอบแผลนูนบวมเมื่อแผลหายจะเกิดรอยแผลเป็น แบ่งเป็น 2ชนิด
Duodenal ulcer แผลในลำไส้เล็กส่วนต้น
-แผลเกิดบริเวณลาไส้เล็กส่วนต้น
-สาเหตุจากการหลั่งกรดที่มากขึ้น
-พบในทุกวัย โดยเฉพาะคนที่มีภาวะความเครียดสูง อารมณ์แปรปรวน มีความวิตกกังวลมาก ดื่มสุรา และสูบบุหรี่
Gastric ulcer แผลที่กระเพาะอาหาร
-เป็นแผลที่พบได้ในทุกส่วนของกระเพาะอาหาร ทั้งส่วนกระเพาะอาหาร ฟันดัส ไพโรริก และแอนทรัม
-พบมากในอายุ 40ปี ขึ้นไปทั้งหญิง และชายพบในอัตราที่เท่ากัน
-สาเหตุเกิดจากความสามารถในการป้องกันกรดและเปปซินของกระเพาะอาหารลดลงทำให้เกิดแผลได้ง่าย
Peptic ulcer perforate
-สาเหตุ การติดเชื้อ Helicobacter pylori, การใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID
-น้ำย่อยในกระเพาะอาหารมีฤทธิ์เป็นกรดเมื่อกระเพาะทะลุกรดในกระเพาะจะหลั่งออกมาในช่องท้อง ทำให้เยื่อบุช่องท้อง peritoneum อักเสบเรียก - "ช่องท้องอักเสบ peritonitis"
-pt. มีอาการปวดท้องอย่างมาก หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมอาจจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน และทำให้เสียชีวิตได้
Chronic peptic ulcer
โรคกระเพาะอาหารแบบเรื้อรัง
สาเหตุ
-การสูบบุหรี่ ,ดื่มแอลกอฮอล์
-ความเครียดทางอารมณ์
-อาหารทุกชนิด ไม่เป็นสาเหตุโดยตรง แต่ทำให้มีอาการกำเริบเช่น รสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด น้าส้ม น้ำผลไม้
Diverticular disease โรคถุงผนังลำไส้อักเสบ
การอักเสบของกระเปาะบริเวณเยื่อบุลำไส้ใหญ่ที่ส่งผลให้เกิดอาการปวดท้องอย่างเฉียบพลันรุนแรง
สาเหตุ
-อายุและเพศ
-พันธุกรรม
-โรคอ้วน
-ออกกำลังกายน้อย
-การสูบบุหรี่
-ทานอาหารที่มีกากใย จำนวน้อย
-การขาดVitamin D
-การใช้ยาแก้ปวดลดการอักเสบ NSAIDS
โครงสร้างของทางเดินอาหาร
ส่วนที่เป็นทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหาร Stomach
ลำไส้เล็ก Small intestine
หลอดอาหาร Esophagus
ลำไส้ใหญ่ Large intestine
คอหอย Pharynx
ไส้ตรง Rectum
ปาก Mouth
ทวารหนัก Anus
ต่อมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของ GIT
ต่อมน้ำลาย salivary gland
ตับ liver
ลิ้น tongue
ถุงน้ำดี gallbladder
ฟัน tooth
ตับอ่อน pancreas
โรคของช่องปาก
ความพิการแต่กำเนิด
Hare Lip and Cleft palate โรคปากแหว่งเพดานโหว่
เกิดได้ตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา ในช่วงเดือนที่ 2 , 3 ทำให้เกิดความผิดพลาดในการสร้างอวัยวะ ได้แก่ ปาก เพดานปาก
ปากแหว่ง
สาเหตุจากการเชื่อมของขากรรไกรบนและส่วนยื่นจมูกด้านใกล้กลาง เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ ไม่สมบูรณ์
เกิดที่ด้านบนริมฝีปากในเป็นช่องว่างเล็กๆ หรือเว้าเล็กน้อยเรียกว่า "ปากแหว่งไม่สมบูรณ์" หรือ"ปากแหว่งบางส่วน"
ถ้ารอยแยกนี้ต่อเนื่องไปถึงจมูกเรียกว่า "ปากแหว่งสมบูรณ์" เกิดข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้
เพดานโหว่
สาเหตุ>>ความบกพร่องของการเชื่อมของส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง (lateral palatine processes) ,
ผนังกลางจมูก (nasal septum) ,
และ/หรือส่วนยื่นเพดานปากกลาง (medianpalatine processes)
เพื่อเป็นเพดานปากทุติยภูมิ
ภาวะที่แผ่นกระดูกกะโหลกศีรษะที่ประกอบเป็นเพดานแข็ง 2 แผ่นไม่เชื่อมกัน
pt ส่วนมากมีปากแหว่งร่วมด้วย
pt เพดานโหว่มักมีลิ้นไก่แฉก
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ชนิดสมบูรณ์
คือมีรอยแยกทั้งเพดานแข็งและเพดานอ่อน
บางครั้งอาจมีที่ขากรรไกรด้วย
ชนิดไม่สมบูรณ์ คือมีช่องอยู่ที่เพดานปาก มักเป็นที่เพดานอ่อน
การอักเสบ
Gingivitis เหงือกอักเสบ,ปริทันต์
-
เศษอาหารหมักหมมหรือหินปูน พอกอยู่ที่ฟัน
ทำให้ Bacteria เจริญได้ดี
เกิดการอักเสบ
Periodontitis โรคปริทันต์อักเสบ
เป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อที่อยู่รอบฟัน
เกิดที่เหงือกก่อน แล้วลุกลามทำลาย tissue
ถ้าอักเสบเรื้อรัง อาจทำให้เหงือกร่น (Gingival recession)
เป็นสาเหตุสาคัญของการสูญเสียฟันในคนอายุ35 ปีขึ้นไป
Dental caries ฟันผุ
รอยโรคที่มีการทำลายสาร enamel และ dentine
โรคแทรกซ้อนที่สาคัญ คือ Osteomyelitis และ Cellulitis
Recurrent herpes labialis เริมในช่องปากชนิดเป็นซ้ำ
เกิดจาก herpes simplex virus(เริม)
ระยะแรกเป็น vesicle ขนาดเล็ก ที่ mucocutaneous junction ของริมฝีปาก
ต่อมาแตกเป็นแผล และอาจมี secondary infection
ถ้าร่างกายมีความต้านทานลดลง จะเกิดรอยโรคซ้าบริเวณเดิม
Aphthous ulcer แผลร้อนใน
แผลที่เกิดซ้ำในช่องปาก
เป็นแผลตื้น แผลเดียวหรือหลายแผลพร้อมกัน
คลุมด้วย exudate สีเทาและรอบๆเป็นสีแดง
มักหายภายใน 1 wk
Oral candidiasis (Thrush) เชื้อราในปาก
เกิดจากเชื้อรา Candida albicans
พบในเด็กเล็ก/ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ/ได้รับยาปฏิชีวนะ
บริเวณอักเสบจะคลุมด้วย บริเวณอักเสบจะคลุมด้วย fibro-suppurative exudate ที่มีเชื้อราปนอยู่
ฟัน
Dentine เนื้อฟัน
ส่วนที่แข็งน้อยกว่าเคลือบฟัน แข็งพอๆกับกระดูก ชั้นนี้มีการสร้างและสลายอยู่ตลอดเวลา เป็นชั้นที่มีเซลล์เป็นจำนวนมาก
Pulp โพรงประสาทฟัน
เป็นที่อยู่ของเส้นเลือดที่นำอาหารมาหล่อเลี้ยงฟัน และนำของเสียออกจากฟัน และมีเส้นประสาทรับความรู้สึกของฟัน
Enamelเคลือบฟัน
ส่วนที่แข็งที่สุดของฟันมีส่วนประกอบของ แคลเซียมและฟอสเฟต
Cementum เคลือบรากฟัน
ส่วนของเนื้อเยื่อปริทันต์ที่อยู่ภายในรากฟัน ด้านหลังของเหงือก มีเส้นประสาทไหลเวียนมาก
Gingiva หงือก
เนื้อเยื่อที่หุ้มตัวฟันและกระดูกขากรรไกรไว้
Tonsillitis ต่อมทอนซิลอักเสบ
Chronic hypertrophic tonsillitis
เกิดจากการอักเสบของ tonsilเป็นๆหายๆ
พบ tonsilมีขนาดใหญ่กว่า 2 ซม. เนื่องจากมีlymphoid hyperplasia
โรคของหลอดอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Esophageal stenosis
ภาวะที่บางส่วนของ หลอดอาหารตีบ
Esophageal atresia
ภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของหลอดอาหาร
Diaphragmatic hernia ไส้เลื่อนกระบังลม
ทำให้พบส่วนที่เป็นทางเดินอาหารอยู่ในทรวงอกได้
Congenital pyloric stenosis กระเพาะอาหารไพโลริกตีบแต่กำเนิด
Achalasia การอุดกั้นทางเดินอาหาร
จำนวน myentericganglion cell ในผนังหลอดอาหารที่ทำหน้าที่ควบคุมการหดตัวเพื่อบีบไล่อาหารมีจำนวนลดลง/ไม่มีเลย
กลืนอาหารลาบากและสำลัก โดยเฉพาะเวลากลางคืน
หลอดอาหารส่วนบนจะมีผนังบางและโป่งออก
Esophageal varices
หลอดเลือดในหลอดอาหารโป่งพอง
หลอดเลือดดำโป่งพองบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง
เส้นเลือดที่ท่ออาหาร esophagus ส่วนล่างเกิดการขยายตัว ทำให้เกิดผนังของเส้นเลือดบางลง ง่ายต่อการฉีกขาดหรือแตก และมีเลือดออก
สาเหตุที่ทาให้เกิดภาวะเลือดออก คือ cirrhosis
หลอดเลือดดามีลักษณะคดเคี้ยว จาก portal hypertension ทาให้เกิดแผลได้
โรคของต่อมน้ำลาย
Mumps คางทูม
ติดเชื้อไวรัสกลุ่ม Paramyxovirus
อักเสบแบบ acute interstitial inflammation
ติดต่อกันโดยทาง น้ำลาย เสมหะ มักจะพบในเด็กอายุ 5-10ปี
ผู้ชายอาจจะมีอัณฑะอักเสบ (Orchitis)
ผู้หญิงอาจจะมีรังไข่อักเสบ(Oophoritis)
อาจมีเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบร่วมด้วย (Meningoencephalitis)
ความผิดปกติของตับ
Jaundice ดีซ่าน
-ระดับ bilirubinในเลือดสูงกว่าปกติสองเท่า
-อาการ ผิวหนัง ตาsclera เหลือง
-สาเหตุ มีการแตก RBC เพิ่มขึ้น
-มีความบกพร่องของเซลล์ตับในการจับ bilirubin
-ลดการconjugationของ bilirubin
-มีการอุดตันของทางเดินน้าดีทั้งภายในและภายนอกตับ
Ascites ท้องมาน
-การสะสมของเหลวในช่องท้อง โดยมีสาเหตุจากโรคตับเรื้อรัง มะเร็ง หัวใจขวาล้มเหลว ตับอ่อนอักเสบ nephrotic syndrome
-มีการรบกวนการไหลเวียนเลือดจาก liver สู่ hepatic vein และvena cava
-ภาวะalbumin ต่ำ
การหลั่งADH↑,Aldosterone ↑
Portal hypertention ภาวะความดันเลือดสูงในเส้นเลือดดาพอร์ตัล
การอุดตันที่เกิดในเส้นเลือดพอร์ตัล (Prehepaticblock)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในตับส่วน sinusoids (Intrahepaticsinusoidal block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในเส้นเลือดดาเฮปพาติก (Posthepaticblock)
การเกิด Portal hypertentionระยะยาวทำให้เกิดปัญหา
-Varices เส้นเลือดขอด
-splenomegaly อาการม้ามโต
-ascites ท้องมาน
-hepatic encephalopathy โรคสมองจากโรคตับ
Hepatitis ไวรัสตับอักเสบ
-เป็นการอักเสบของตับเกิดจากการติดเชื้อ virusหรือ reactionจากยาและสารเคมี มีการทำลายparenchymal cell และมีtransaminases(SGOT ,SGPT)ปล่อยเข้ากระแสเลือด
-Drug induce hepatitis ได้แก่ Paracetamol ,Aspirin,Isoniazid
-Alcohol hepatitis
-Viral hepatitis
Cirrhosis ตับแข็ง
-เป็นความผิดปกติของตับที่เกิดจากการอักเสบมีfibrosis และมี nodular regenerationทำให้มีความผิดปกติทั้งโครงสร้างและหน้าที่ของตับ
-ตับรูปร่างบิดเบี้ยว คลาพบเป็นก้อนแข็ง ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินน้ำดี เกิดportal hypertention
โรคของลำไส้เล็ก
Intussusception โรคลำไส้กลืนกัน
เป็นภาวะที่ลำไส้เล็กส่วนต้นถูกกลืนโดยลำไส้เล็กส่วนปลาย
ส่วนที่กลืน เรียก intussuscipienส่วนที่ถูกกลืน เรียก intussusceptum
พบในเด็กเล็ก โดยเฉพาะเด็กผู้ชาย
สาเหตุ
-เกิดหลังการติดเชื้อของลำไส้ หรือ จากความผิดปกติในผนังของลำไส้เล็กที่เป็นมาตั้งแต่กำเนิด เช่น ก้อนติ่งเนื้อ (Polyps) หรือ กระพุ้งของลำไส้ (Meckel’s diverticulum)
-ไม่ทราบว่าอะไรเป็นสาเหตุ
ความพิการแต่กำเนิด
Congenital atresia
เป็นภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งของลำไส้เล็ก
Congenital stenosis
เป็นภาวะที่บางส่วนของลำไส้เล็กตีบ
Intestinal adhesion
เกิดจากลำไส้ไม่บีบตัวขับเคลื่อนสิ่งต่างๆในลำไส้ตามปกติ เรียก “ภาวะลำไส้อืด (Paralyticileus) หรือ Non mechanical obstruction”
เกิดจากช่องทางเดินในลาไส้ตีบแคบ หรืออุดตันทั้งหมด เรียก “ลาไส้ตีบตัน (Mechanical obstruction)”
โรคในระบบทางเดินน้ำดี Disorders of the gall bladder
การอุดตันและการอักเสบนิ่วในทางเดินน้ำดี (Gallstones)
-หมายถึงนิ่วที่เกิดขึ้นและมีอยู่ในทางเดินน้าดี อาจพบในถุงน้ำดีหรือท่อน้าดีก็ได้ เรียก Cholelithiasis ประกอบด้วย
นิ่วในทางเดินน้ำดี
Cholecystitis การอักเสบของถุงน้ำดีจากโรคนิ่วในถุงน้ำดี
-ก้อนนิ่วจะไปอุดตันท่อน้าดีส่งผลให้น้าดีไหลออกจากถุงน้ำดีเข้าสู่ลำไส้ไม่ได้
-ความดันในถุงน้ำดีสูงขึ้น ไปกดเบียดหลอดเลือดต่างๆที่หล่อเลี้ยงถุงน้ำดี
-ถุงน้ำดีจึงขาดเลือดเนื้อเยื่อถุงน้ำดีจึงเกิดการบาดเจ็บ เกิดเป็นการอักเสบขึ้น
hepatolithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีภายในตับ มีแคลเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก มีสีน้ำตาล เรียก Brown pigment stones
Choledocholithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีร่วม เกิดจากการอักเสบของท่อน้ำดี (Cholangitis)
แบ่ง เป็น 2 ชนิด
นิ่วที่ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล (Cholesterol stones)
-พบบ่อยประมาณ 80% ของนิ่วในถุงน้าดีทั้งหมด
-มีลักษณะแข็งเป็นก้อนสีขาว เหลือง หรือเขียว
-เกิดจากการมีCholesterol เพิ่มขึ้นในน้าดี หรือการบีบตัวของกล้ามเนื้อในถุงน้าดีมีสมรรถภาพไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถบีบสารออกได้หมด
สาเหตุและกลไกการเกิดนิ่วในทางเดินน้ำดี
การเกิดนิ่วทางเดินน้ำดีจาก Cholesterol
-การเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนความเข้มข้นในน้ำดี
-การไม่เคลื่อนที่ของน้ำดี
นิ่วที่ประกอบด้วยบิลิรูบิน (Pigment or bilirubin stones)
-มีขนาดเล็กกว่าและมีสีคล้ากว่าชนิดที่เกิดจากคอเลสเตอรอล
-พบในผู้ป่วยโรคตับแข็งหรือผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของเลือด เช่น โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย โรคโลหิตจางจากการขาดเอนไซม์ G6PD
สาเหตุและกลไกการเกิดนิ่วในทางเดินน้ำดี
การเกิดนิ่วทางเดินน้ำดีจากบิลิรูบิน
-เกิดจากการมี unconjugated bilirubin เพิ่มมากขึ้นในน้ำดี เนื่องจากมีการทาลายเม็ดเลือดแดงมากผิดปกติ หรือมีการอักเสบถุงน้ำดีและท่อน้ำดีเรื้อรัง
โรคของลำไส้ใหญ่
ความพิการแต่กำเนิด
Hirschsprung’sdisease or Congenital megacolon โรคลำไส้โป่งพองโดยกำเนิด
-พยาธิสภาพพบที่ rectum และ sigmoid colon
-ไม่มี ganglion cell ใน colon จึงไม่มี peristalsisทาให้ content ผ่านไม่ได้
-Colon ส่วนที่อยู่เหนือกว่ามีผนังหนาและพองออก
-พบในเพศชาย
Imperforate anus รูทวารหนักปิดตันแต่กำเนิด
-เกิดจากเนื้อเยื่อที่แยกระหว่าง rectum กับ Anus ที่ควรหายไปตั้งแต่ทารกในครรภ์อายุ 8สัปดาห์ ยังคงอยู่
-เกิดภาวะลาไส้อุดตันได้
Diverticular disease โรคถุงผนังลำไส้อักเสบ
-การที่ mucosa มีลักษณะคล้ายถุงยื่นเป็นติ่งออกไปจาก muscle layer ของผนัง colon
-มักพบในผู้สูงอายุ, รับประทานอาหารที่มีกากใยอาหารน้อย,ไม่ออกกาลังกาย
-ทำให้เกิดการหนาตัวของกล้ามเนื้อรอบๆติ่ง→เพิ่มแรงดัน →ติ่งแตก →abscess, peritonitis
Hemorrhoid ริดสีดวงทวาร
-ริดสีดวงทวาร เกิดจากการโตขึ้นของกลุ่มเส้นเลือดและ เนื้อเยื่อ บริเวณส่วนปลายของลาไส้ตรง ที่เรียกว่า hemorrhoidal tissue
-hemorrhoidal tissue จะมีหน้าที่ ป้องกัน กล้ามเนื้อของทวารหนัก รวมทั้งหูรูด ระหว่าง ถ่ายอุจจาระ และช่วยให้ทวารหนักปิดได้สนิท ในขณะที่เราอยู่เฉย
สาเหตุ
-เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณนั้น
-เกิดจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดดำนานๆ เกิดจากการเบ่งอุจจาระบ่อยๆ จากท้องผูกการยกของหนัก การยืนนานๆรวมทั้งการตั้งครรภ์ ทาให้เลือดไหลกลับไม่สะดวก
ความผิดปกติในหน้าที่ตับอ่อน Disorders of the pancreas
-ความผิดปกติของตับอ่อนมักแสดงอาการออกมาเมื่อความผิดปกตินั้นได้ลุกลามไปมากแล้ว
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis)
สาเหตุและกลไกการเกิดตับอ่อนอักเสบ
-เกิดจากท่อในตับอ่อนได้รับบาดเจ็บหรือมีการแตก น้ำย่อยจากตับอ่อนจะย่อยเนื้อเยื่อตนเอง
-การอุดตันทางเดินน้ำดี ทาให้น้าดีไหลเข้าสู่ตับอ่อน
-แอลกอฮอล์ ทำให้ตับอ่อนหลั่งน้าย่อยมากขึ้น และทำให้ Oddisphinctor หดเกร็ง
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง (Chronic pancreatitis)
มักมีความสัมพันธ์กับการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ รับประทานอาหารมัน ภาวะแคลเซียมในเลือดสูงการอุดตันท่อในตับอ่อนเป็นเวลานาน
-ตับอ่อนอักเสบเรื้อรังจะมีลักษณะความผิดปกติของโครงสร้างและหน้าที่อย่างต่อเนื่อง
แบ่งออกเป็น 2ชนิด
1.Chronic calcifying pancreatitis
มักพบในผู้ป่วยโรคพิษสุราเรื้อรัง
Chronic obstructive pancreatitis มีความสัมพันธ์กับการตีบของOddi sphinctor