Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มี ปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด…
บทที่ 8 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มี ปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
Postpartum infection
ความหมาย
มีไข้สูงตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียส ขึ้นไปหลังจาก 24 ชั่วโมงของการคลอดบุตร จนถึงประมาณ 10 วัน หลังคลอด
การให้พยาบาล
เมื่อมีอาการ
มีไข้ การระบายหนอง ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
อาการปวด
จัดให้นอนท่า
ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการรักษาสุขวิทยาส่วนบคุคล
อาการรุนแรง
ดูแลการให้สารน้ำและอาหารทางหลอดเลือด
เยื่อบุมดลูกอักเสบ (Endometritis)
อาการและอาการสดง
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
น้ำคาวปลาไม่เปลี่ยนสี
มดลกูมีขนาดใหญ่คล าได้ทางหน้าท้อง มีลกัษณะนุ่ม กดเจ็บ
มีไข้ ไม่เกิน 38.8องศาเซลเซียส
การรักษา
การรักษาตามอาการ
ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ที่ครอบคลมุเชื้อที่สงสัย
มดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
สาเหตุ
เศษรกหรือหุ้ม,เยื่อทารกค้างในมดลกู,ก้อนเนื้องอกของมดลูก
ทารกไม่ได้ดูดนมแม่
มีการติดเชื้อของมดลกู (Endometritis)
มดลูกคว่ำหน้ามากหรือคว่ำหลังมาก
ผ่าตัดคลอดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาไม่จางลง
น้ำคาวปลาที่จางลงเปลี่ยนเป็นสีแดง
ระดับยอดมดลูกไมล่ดลง
ปวดมดลกูและมีไข้
เหนื่อยอ่อนเพลีย
การพยาบาล
ประเมิน daily HF, lochia, อาการปวด มดลูก
Early ambulation postpartum
ติดตาม vital signs
การรักษา
ให้ยา Oxytocin
Dilatation and Curettage
Antibiotic in endometritis
อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Parametritis)
ความหมาย
: ติดเชื้อที่ปากมดลกูหรือมดลูกลามไปทางหลอดน้ำเหลือง ทำให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน
อาการและอาการสดง
ไข้ 38.9-40 องศาเซลเซียส ร่วมกับ tachycardia
มดลูกโตขึ้น กดเจ็บที่มดลูกส่วนล่างข้างเดียวหรือสองข้าง
ตำแหน่งมดลูกจะ fix จากหนองที่เกิดขึ้นตาม round ligament
การรักษา
การรักษาตามอาการ
ร่วมกับการให้ยาปฏิชีวนะ ที่ครอบคลมุเชื้อที่สงสัย
ถ้ามีฝีหรือหนองต้องระบายออก
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (Peritonitis)
อาการและอาการสดง
ปวดท้องหรือสัมผัสท้องแล้วปวด
ท้องอืดหรือแน่นท้อง
ไข้
คลื่นไส้และอาเจียน
เบื่ออาหาร
การรักษา
: การให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมทั้ง aerobes และ anaerobes
ถ้าเป็นรุนแรงจากแผลมดลูกเน่าและแยก หรือมีการแตกทะลุของลำไส้ จะต้องได้รับการผ่าตัดเร่งด่วน
Episiotomy infection
อาการและอาการสดง
ปวดเฉพาะที่ที่แผล
ปัสสาวะลำบาก
ไข้ต่ำๆ
ลักษณะของแผลติดเชื้อ
แผลบวม เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง
มีหนองตามมา
การรักษา
ขจัดเนื้อตายและเปิดระบายหนองร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
แผลอักเสบแต่ยังไม่มีหนอง ให้ยาปฏิชีวนะอย่างเดียว
การดูแลแผลให้ sitz bath บ่อยๆ ทุกวัน
ให้ยาแก้ปวด
Abdominal incisional infections
อาการและอาการสดง
:ไข้ตั้งแต่่ 4 วัน หลังผ่าตัด
บริเวณแผลจะแดงและมีหนอง
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ ร่วมกับการผ่าตัดระบายหนอง
ทำแผลแบบเปียก (wet dressing) 2 ครั้งต่อวัน
เริ่มมีการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ 4-6 วัน แล้วจึงเย็บปิดแผลด้วยไหม
Pelvic Thrombophlebitis
อาการและอาการแสดง
:ปวดบริเวณท้องน้อยด้านล่างและปวดบริเวณสีข้าง (Flank)
ก้อนบริเวณ Parametrium กดเจ็บตามเส้นเลือดที่มีการอักเสบ
การรักษา
:การรักษาการติดเชื้อที่สำคัญ คือ การให้ยาปฏิชีวนะ
ส่วนการให้ Heparin ร่วมด้วยเชื่อว่าอาจทำให้ไข้ลดลงช้าลง
Breast Abscess
อาการและอาการแสดง
มีไข้
ผิวหนังบริเวณเต้านมมีลกัษณะ แดง ตึง แข็ง เจ็บ ปวด
ผิวหนงัจะนุ่ม เป็นมัน ต่อมน้ำเหลืองที่รักแร้อาจโต และเจ็บ
การรักษา
เพาะเชื้อน้ำนมข้างที่มีการอักเสบก่อนเริ่มรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลมุเชื้อที่พบบ่อย
ให้ยาแก้ปวด
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีอาการปวดมาก
การเจาะระบายหนอง นิยมวิธีใช้เข็มเจาะดดู (needle aspiration)
ก้อนเลือดคั่งที่ฝีเย็บ (Hematoma)
อาการและอาการแสดง
:
ปวดบริเวณทีมีก้อนเลือดคั่งชัดเจน ,รู้สึกปวดถ่วงในช่องคลอด
การรักษา
ถ้าขนาดของก้อนเลือดคั่งไม่ใหญ่ จะรักษาตามอาการและใช้น้ำแข็งกดทับให้ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบ
ใสส่ายสวนปัสสาวะไว้ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะเองไม่ได้
รักษาโดยวิธีผ่าตัดเข้าไปเอาก้อนเลือดคั่งออก
ภาวะผิดปกติด้านจิตใจ
Psychosis
หม่นหมอง หดหู่ เศร้าสร้อย ร่วมกับรู้สึกท้อแท้ หมดหวัง มองโลกในแง่ร้าย จะแสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิม
การรักษา
:การบำบัดด้วยยา ในกลุ่ม Selective serotonin reuptake inhibitor เป็นอันดับแรก
เข้ากลุ่มจิตบำบัด
การพยาบาล
:ให้ความสนใจ,แนะนำสามีและญาติให้กำลังใจมารดา และให้การช่วยเหลือ
Depression
อาการและอาการแสดง
:48-72 ชั่วโมง หลังคลอด วิตกกังวลอย่างมาก อาการต่อมาคือ สับสน จำเวลา สถานที่ บุคคลไม่ได้ ความจำเสื่อม สมาธิเสียวุ่นวาย พูดเพ้อเจ้อ มีท่าทางแปลก ๆ ร้องไห้คร่ำครวญหลงผิด หวาดระแวง ประสาทหลอน หูแว่ว
การรักษา
:งดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
การใช้ยา ยาต้านโรคจิต (Antipsychotic drug)ยาลด ภาวะซมึเศร้า (Antidepressants)ยาควบคมุอารมณ์ (Mood stabilizer)
การพยาบาล
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคำพูด
ป้องกันการทำร้ายตนเอง
สิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเก็บให้พ้น บริเวณที่มารดาพัก เช่นมีด กรรไกร
ดูแลให้ได้รับยา
นางสาวชุติมา โชคดีทวีทรัพย์ รหัส 602701022 ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35 วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม