Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Coronary Artery Disease - Coggle Diagram
Coronary Artery Disease
ที่เกิดจากหลอดเลือดแดงที่เลี้ยงกล้ามเนื้อ
หัวใจตีบหรือตัน
ส่วนใหญ่เกิดจากไขมันสะสมอยู่ในผนังของ
หลอดเลือดทําให้เยื่อบุผนังหลอดเลือด ชั้นในหนาตัวขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง
ที่ปรับเปลี่ยนได้
ความดันโลหิตสูง
ไขมัน HDLต่ำ
Cholesterolสูง
ภาวะอ้วนและการสูบบุหรี่
พฤติกรรมเสี่ยงที่สําคัญ
โรคประจําตัว
มีภาวะแทรกซ้อน
CHF 31.12%
Arrthytmia 21.27%
สูบบุหรี่
ปัจจัยเสี่ยงท่ปรับเปลี่ยนไม่ได้
เพศ หญิงต่อเพศชาย 1: 1.3
ประวัติครอบครัว
อายุ
60-69 ปี 26.46 %
50-59 ปี 15.89%
70 ปี 50.31 %
40-49 ปี 5.61 %
เชื้อชาติ
กลุ่มอาการ
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอกคงที่
เป็นๆหายๆไม่รุนแรง
ระยะเวลา 3-5 นาที หายโดยการพัก หรืออมยา
ขยายเส้นเลือดหัวใจ
กลุ่มอาการหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันACS
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงเฉียบพลัน
หรือเจ็บขณะพัก
เจ็บนานมาก
กว่า 20 นาที
Non ST elevation acute coronary syndrome
คลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็น ST depression และ/หรือT wave inversion
ถ้าอาการไม่รุนแรง อาจมีภาวะ Unstable angina
หากมีอาการนาน> 30นาที จะเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด NSTEMI, Non-Q MI
ST elevation acute coronary syndrome
พบ ST segment elevate อย่างน้อย2 leads ต่อเนืÉองกัน
หรือเกิด LBBB ขึ้นมาใหม่
หากไม่ได้รับการเปิ ดเส้นเลือดอย่างรวดเร็ว จะทําให้เกิด Acute ST elevation myocardial infarction
เกิดการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
การรักษา
กลุ่ม NSTEMI และ unstable angina
ให้ยาlow molecular weight heparin
พิจารณาให้ยากลุ่ม narcotics
ติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
ควรให้ยาต้านเกร็ดเลือด 2 ชนิด
clopidogrel
aspirin
กลุ่ม STEMI
ควรรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านเกล็ดเลือดทุกราย
เปิดเส้นเลือดหัวใจที่อุดตันอย่างเร่งด่วน
ยาละลายลิ่มเลือด มี 2 กลุ่ม
fibrin non-specific agents
fibrin specific agents
เปิดหลอดเลือดที่ทําให้กล้าม เนื้อหัวใจตายภายใน 6 ชั่วโมง หรืออย่างช้าไม่เกิน 12 ชั่วโมงหลังจากมี chest pain
ข้อควรระวัง ห้ามให้ยา streptokinase ซํ้า ในผู้ป่วยที่เคยได้รับยา
streptokinase มาก่อน
อาการนําที่พบบ่อย
ใจสั่น เหงื่อออก
เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม
เจ็บเค้นอก
หมดสติหรือ เสียชีวิตเฉียบพลัน
การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่ได้รับยา
ละลายลิ่มเลือด
ติด Monitorเพื่อติดตามสัญญาณชีพและ EKG อย่างใกล้ชิด หลังผู้ป่วย
ไดรับยาละลายลิ่มเลือด
ติดตามEKG 12 lead ทุก 30 นาที
สังเกตอาการเจ็บแน่นหน้าอก อาการเหนื่อยของผู้ป่วย และอาการอื่นๆ
ควรส่งต่อผู้่วยเพื่อทําการขยายหลอดเลือดหัวใจในสถานพยาบาลที่
มีความพร้อมโดยเร็วที่สุดหากอาการเจ็บหน้าอกไม่ดีขึ้น
ปัญหาทางการพยาบาล
เจ็บแน่นหน้าอก เนื่องจากปริมาณเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
ปริมาตรเลือดที่หัวใจส่งออกต่อนาทีลดลง
อาจเกิดภาวะ Cardiogenic shock จากปริมาตรการไหลเวียนลดลง
มีโอกาสเกิดภาวะ แทรกซ้อนเนื่องจากได้รับยาละลายลิ่มเลือด
เกิดความวิตกกังวล ต่ออาการและการดําเนินของโรค