Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวพิชญามน แสงสุวรรณ์ เลขที่ 51…
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ECG Waveform
เมื่อไฟฟ้าวิ่งผ่านเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ จะเกิด Depolarization และ Repolarization
เกิด ECG Waveform ประกอบด้วย P Wave, QRS Complex, T Wave, U Wave
Characteristic of normal ECG
P wave
Atrial deporalization
กว้าง< 0.12 sec (3ช่อง)
Upright ใน I,II,V4-V6, aVF
Invert ใน aVR
QRS complex
ventricular depolarization
กว้าง 0.06-0.12sec
Q ปกติไม่เกิน 1 mm
QRSสูง 10 - 25 mm
T wave
ventricular repolarization
upright ใน lead I,II,V3-V6
invert ใน aVR
PR Interval & ST Segment
PR interval ˃ 0.20 secondเรียกว่า First degree AV block เป็นการ delay ของไฟฟ้าที่เดินทางมาจาก Atrium ลงไปที่ Ventricle ช้ากว่าปกติสาเหตุส่วนมากจะเกิดจาก Acute Myocardial Infarction โดยเฉพาะเกิดบริเวณที่ทำให้เกิดการขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใขส่วนของ AV node และ AV junction หรือจากการใช้ยา
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Sinus bradycardia
เกิดขึ้นขณะนอนหลับ หรือ ในคนหนุ่มสาวที่มีสุขภาพแข็งแรง
ผู้ป่วยที่มี myocardial infarction ในส่วน inferior หรือ posterior
Parasympathetic ถูกกระตุ้นเช่น อาเจียน กลั้นหายใจ การเบ่งอุจจาระ
ผู้ป่วยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ร่างกายขาดออกซิเจน อุณหภูมิร่างกายต่ำ K+สูง หรือ hypothyroid
ได้รับยากลุ่ม calcium channel blocker, beta blocker, digitalis, amiodarone
Sinus Tachycardia
มี P wave ที่มีรูปร่างเหมือนกัน uniform และเป็น upright positive deflection ly lead II
ระยะเวลาที่เกิด P wave ตามด้วย R wave เกิดขึ้นสม่ําเสมอ คือ ห่างกันประมาณ 2.5 ช่องใหญ่ทุกตัว
อัตราการเกิด P wave ตามด้วย R wave คือ 300 หารด้วย 2.5 เท่ากับ 120 นั่นคือหัวใจเต้น 120 ครั้งในหนึ่งนาที
Atrial fibrillation
Atrial Fibrillation (AF) เป็นภาวะที่จุดกําเนิดไฟฟ้าไม่ได้มาจาก SA node
แต่เกิดมาจากไฟฟ้าที่มาจากห้องหัวใจข้างบนมากมายหลายแห่ง ทําให้เกิดภาวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ( หัวใจห้องข้างบนสั่นพริ้ว ) ลักษณะคลื่นไฟฟ้าของหัวใจไม่มี P wave แต่พบว่ามี Fibrillation (f) wave ลักษณะเป็นเส้นหยักไปมา ไม่สม่ําเสมอ แต่รูปร่างของ QRS complex เป็นปกติ
Atrial flutter
ไฟฟ้าเกิดมาจากRt. Atrium และไหลหมุนวนกลับ (re-entry circuit)
เกิด Atrium depolarization มี wave form คล้ายฟันเลื่อย (Flutter wave)
ไม่มี p wave, แต่เป็น Flutter wave
Atrial rate 250-450 ครั้ง/นาที
จังหวะของ atrium สม่ำเสมอ แต่จังหวะของ ventricle ไม่แน่นอน
Ventricular fibrillation
ลักษณะ ventricle เต้นพริ้ว ไม่สามารถบีบเลือดออกจากหัวใจได้
ไม่พบ p wave มีเพียง fibrillation wave
คลำชีพจรไม่ได้
การรักษา
ทำ defibrillation 100-200 จูล ทันที
ร่วมกับการทำ CPR อย่างต่อเนื่อง
epinephrin 1 mg IV ซ้ำได้ทุก 3 – 5 นาที
Ventricular tachycardia
จุดกำเนิดอยู่ที่ ventricle
ไม่พบ P wave
QRS กว้าง
Rate 150-250 ครั้ง/นาที
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
สาเหตุของหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคของกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคของลิ้นหัวใจ ตีบ รั่ว
หัวใจโต หัวใจล้มเหลว
อาการของหัวใจเต้นผิดจังหวะ
อาการอาจขึ้นกับชนิดของจังหวะหัวใจที่ผิดปกติ
ถ้าหัวใจเต้นเร็วหรือเต้นไม่สม่ำเสมอ ผู้ป่วยอาจจะมาด้วยอาการใจสั่น
กรณีหัวใจเต้นช้า ผู้ป่วยจะมาด้วยอาการ เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม หรือหมดสติ
บางครั้งผู้ป่วยอาจมาด้วยอาการเหนื่อย เนื่องจากจังหวะการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติ รบกวน การทำงานของหัวใจ ทำให้มีอาการเหนื่อยได้
แนวทางการรักษา
ให้ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ ได้แก่ Digitalis, Amiodarone, propanol
การใส่สายสวนหัวใจ เพื่อให้การรักษาโดยการจี้
การรักษาโดยฝัง เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือ Pacemaker
การฝังเครื่องกระตุกหัวใจ หรือ Internal Defibrillator เพื่อที่จะรักษาผู้ป่วยในกรณีที่มีจังหวะผิดปกติที่อาจจะทำให้เสียชีวิตได้
Cardiac Muscle cells
Myocardial Cells เป็นเซลล์โครงร่างของหัวใจ ถูกกระตุ้นโดยกระแสไฟฟ้าได้
Pacemaker cells เป็น Electrical cells สามารถผลิตไฟฟ้า และส่งต่อไปเซลล์อื่นได้
นางสาวพิชญามน แสงสุวรรณ์ เลขที่ 51 รหัสนักศึกษา 612501054