Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การดูแลมารดาและทารก
ในระยะที่ 2, 3, และ 4
ของการคลอด, image,…
บทที่ 8 การดูแลมารดาและทารก
ในระยะที่ 2, 3, และ 4
ของการคลอด
ระยะที่ 2
-
-
การพยาบาลมารดาทารก
- การประเมินภาวะสุขภาพทั่วไป
1.1 สัญญาณชีพ :ดันโลหิต ชีพจร และการหายใจ ถ้า HR. มากว่า100bpm หรือ BP สูงกว่า 130/90 mmHg หรือต่ำกว่า 90/60 mmHg
ควรประเมินทุก 15 นาที แลรายงายแพทย์
1.2 สภาพกระเพาะปัสสาวะ ถ้ากระเพาะปัสสาวะเต็ม กระตุ้นให้ผู้คลอดปัสสาวะ
ผลเสีย > การคลอดดำเนินไปช้ากว่าปกติ > การคลอดไหล่เป็นไปได้ยาก (Shoulder dystocia)
1.3 ประเมินความอ่อนเพลีย ถ้าอ่อนเพลียมาก ควรปรึกษาแพทย์เพื่อพิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และใช้ผ้าเย็นเช็ดหน้า คอ และแขน เพื่อให้ผู้คลอดสดชื่นขึ้น
-
-
- การประเมินการดำเนินการคลอด
2.1 การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก : สังเกตว่ามีการหดรัดตัวของมดลูกตลอดเวลาไม่มีระยะพัก (Tetanic contraction) และมี Bandl’s ring หรือไม่
-
2.3 ประเมินการหมุนภายในของศีรษะทารก
: ปกติ ศีรษะทารกจะมีการหมุนเอากระดูกท้ายทอยมาอยู่ข้างหน้า และแนวของรอยต5อแสกกลางเคลื่อนเข้าหาแนวกลางของผู้คลอด หรืออยู่ในแนวตรงหรือแนวหน้า-หลัง
: ถ้าตรวจพบว่ากระดูกท้ายทอยอยู่ด้านหลัง การคลอดจะล่าช้า
2.4 ประเมินระยะเวลาของการคลอด
: ครรภ์แรก 1-2 hr ไม่ควรเกิน 2 hr
: ครรภ์หลัง 30 นาที – 1 hr
: Stage of descent ครรภ์แรกใช้เวลาประมาณ 30 นาที ครรภ์หลัง ไม่เกิน 15 นาที
: Stage of perineum ระยะนีdใช้เวลาประมาณ 15 นาที ไม่ควรนานเกิน 45 นา
2.5 ประเมินการเบ่งของผู้คลอด
ลักษณะที่แสดงว่าผู้คลอดเบ่งอย่างมีประสิทธิภาพ
:ผู้คลอดเบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
:ผู้คลอดสูดลมหายใจเข้าเต็มที่แล้วกลั้นหายใจก่อนออกแรงเบ่ง
:ขณะเบ่งทวารหนักตุงและถ่างขยาย
:มองเห็นส่วนนำปรากฏทางช่องคลอดมากขึ้นเรื่อย ๆ
2.6 ประเมินสภาพทั่วไปของผู้คลอด
ความอ่อนเพลีย ความเหนื่อยล้า ความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์และสภาพกระเพาะปัสสาวะ
- การประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์
-
-
-
-
- การประเมินจิตสังคมของมารดา
ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงออกของผู้คลอดในการเผชิญภาวะเครียด
ว่าผู้คลอดมีความวิตกกังวล ความกลัว และมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมหรือไม่
การช่วยคลอดปกติ
-
จะจัดท่าให้ผู้คลอด เพื่อการช่วยคลอดทารก
:check:Dorsal position:<3:
:check:Semi-sitting position
:check:Lithotomy position
:check:Squattingposition
-
- ล้างมือ7-8 ขันตอน ยกมือและแขนให้สูงกว่าระดับเอว
- เช็คมือด้วยผ้านึ่งสะอาดปราศจากเชื้อ
- สวมเสื้อ กราวน์ และถุงมือ sterile
เตรียมตัวเมื่่อ : ครรภ์แรก เมื่อผู้คลอดเบ่งเห็นส่วนนำโผล่ทางปากช่องคลอด และเมื่อหยุดเบ่งแล้วไม่ผลุบหายเข้าไป ,ครรภ์หลัง เมื่อผู้คลอดเริ่มเบ่งเห็นส่วนนำ
- การทำความสะอาดอวัยวะเพศภายนอก
-
2.)ใช้ Sponge holding forceps คีบสำลีชุบน้ำยาฆ่าเชื้อ หรือน้ำต้มสุกทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ฝีเย็บ และหน้าขาทั้งสองข้าง
3.)หลังจากทำความสะอาดแล้วใช้น้ำต้มสุกหรือน้ำยาฆ่าเชื้อลาดลงบริเวณที่ทำความสะอาด และหยิบผ้าคลอดผืนบนมาซับให้แห้งจากบนลงล่างถึงทวารหนัก แล้วสอดไว้ใต้ก้นผูคลอด
1) ปูผ้ารองคลอด โดยคลีผ้าตามยาวทิ้งชายผ้าลงด้านล่าง ตลบผ้าด้านบน สอดมือทั้งสองข้างเข้าด้านใน แล้วสอดปลายบนผ้าที่พับตลบไว้ใต้ก้นผู้คลอด
-
-
-
6.1 การตัดฝีเย็บ (Episiotomy)
:check:Medio – lateral episiotomy ตัดเฉียง ไปด้านซ้าย หรือขวา
เริ่มบริเวณกลาง Fourchette แล้วเฉียงประมาณ 45 องศา
:check:Median episiotomy ตัดจากแนวกลางของ Fourchette
ลงไปตรงๆยาวประมาณ 2.5 – 3 เซนตเมตร
:check:ข้อดีและข้อเสียของการตัดฝีเย็บ
: แบบ medio-lateral > ฉีกขาดตjอถึง Third degreeได้น้อยกว่า
:แบบ Median episiotomy ฉีกขาดตjอถึง Third degree ได้บ่อยกว่า แต่ซ่อมแซมง่ายแผลติดและสวยกว่า
:check:เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการตัดฝีเย็บ > เมื่อเห็นศีรษะทารกโผล่ทางช่องคลอด ประมาณ 4 cm.
หรือตัดก่อนศีรษะจะมีCrowningเล็กน้อย ระยะนี้ฝีเย็บจะตุงบาง เป็นมันใสพร้อมที่จะขาด
-
6.3 การทำคลอดไหล่
ไหล่บน
ไหลล่าง
ลำตัว
ข้อควรระวัง
1) ห้ามใช้นิ้วเกี่ยวล็อคคอทารกขณะดึง เพราะจะทำให้คอทารก
ถูกยืดออกมาก ทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อ Brachial plexus
-
6.4 การทำคลอดลำตัว
เมื่อไหล่ทั้งสองคลอดออกมาแล้ว > ดึงตัวทารกออกมาช่า ๆ โดยมือขวาจับศีรษะบริเวณท้ายทอยและลำคอ
มือซ้ายรองรับลำตัวที่จะผ่านปากช่องคลอดออกมา จนกระทั่งทารกคลอดออกมาทั้งตัว จึงวางทารกหันหน้าออกจากช่องคลอด
ระวังไม่ให้สายสะดือตึง เวลาที่ทารกคลอดพ้นออกมาทั้งลำตัวต้องบันทึกเวลาที่ทารกเกิดด้วย รีบเช็ดตัวทารกให้แห้ง
6.5 การผูกและตัดสายสะดือ
การจับสายสะดือและการตัดสายสะดือ
-
การตัดสายสะดือ ก่อนตัดเช็ดสายสะดือต้องเช็ดบริเวณที่จะตัดด้วยสำลีชุบ 2%
ทิงเจอร์ไอโอดีน หรือน้ำยาอื่น ควรตัดห5างจากบริเวณ Clamp ประมาณ 1 cm.หลังจากตัดแล้ว
ใช้สำลีเช็ดสะดืออีกครั้ง และบีบใต้บริเวณที่ตัด เพื่อตรวจสอบว่าสายสะดือถูกรัดแน่นหรือไม่
-
ระยะที่ 3
-
-
-
การคลอดรก
ตามธรรมชาติรกสามารถคลอดได้เอง (Spontaneous placental expulsion) ถ้าให้ผู้คลอดเบ่ง (Bearing down effort)
- Modified Crade’ maneuver >ใช้มือที่ถนัดคลึงมดลูกให้เป็นก้อนแข็งเต็มที่ ผลักก้อนมดลูกให้มาอยู่กลางหน้าท้องใช้อุ้งมือดันยอดมดลูกส่วนบนลงมาหา Promontary ofsacrum โดยมือทำมุมกับแนวดิ่ง 30 องศา อย่าดันยอดมดลูกลงมาทางช่องคลอด
- Brant-Andrew maneuver > ใช้มือที่ถนัดกดบริเวณท้องน้อยเหนือรอยต่อกระดูกหัวเหน่า ดันมดลูกส่วนบนขึ้นไปเล็กน้อย มืออีกข้างจับสายสะดือไว้พอตึง จากนั้นมือที่อยู่บริเวณท้องน้อยเปลี่ยนมากดลงล่างเพื่อไล่รกให้เคลื่อนออกมา อีกมือรองรับรกไว้
- Controlled cord traction > การดึงสายสะดือ เพื่อให้รกคลอดออกมา ตรวจดูให้แน่ใจว่า มดลูกหดรัดตัวเป็นก้อนแข็ง จากนั้นวางมือข้างหนึ่งไว้เหนือหัวเหน่าและดันมดลูกส่วนบนไม้ให้เลื่อนลงมา
การตรวจรก
-
-
-
การตรวจรกด้านมารดา
Cotyledon มีลักษณะเป็นก้อนๆ สีแดงเข้มเหมือนสีลิ้นจี่ ปกคลุมด้วย Deciduasบางๆ ซึ่งลอกติดออกมาเห็นเป็นแผ่นเดียวกัน
-
รอยบุxมบนผิวรก ซึ่งจะพบได้ในรายที่มีรกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptio-Placenta) และมีเลือดขังอยู่หลังรกมาก
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-