Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth Asphyxia) - Coggle Diagram
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth Asphyxia)
กลไกการเกิด
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้องหรือลดลง
เช่น สายสะดือย้อย สายสะดือถูกกดทับขณะเจ็บครรภ์หรือขณะคลอด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนแลกเปลี่ยนที่รก
ซึ่งเกิดจากรกแยกตัวออกจากมดลูก เช่น รกลอกตัวก่อนกำหนด (Abrubtio placenta) ,Placenta infection
การนำออกซิเจนและสารอาหารจากมารดาไปยังทารกไม่เพียงพอ
เช่น มารดามีภาวะความดันโลหิตสูง ทำให้หลอดเลือดตีบจึงส่งออกซิเจนและสารอาหารได้น้อย,ช็อค,สูญเสียเลือด,ซีด , มดลูกบีบตัวถี่และรุนแรงเกินไป, ในรายที่ postterm Ca อาจไปเกาะที่รกทำให้ขัดขวางการนำออกซิเจนและสารอาหาร
ปอดขยายได้ไม่เต็มที่และการไหลเวียนโลหิตยังเป็นแบบทารกในครรภ์
เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น , มีน้ำคั่งในปอด, การหายใจล้มเหลวเนื่องจากสมองถูกกด
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกเคลื่อนไหวท่าผิดปกติ คือเคลื่อนไหวน้อยลง อัตราการเต้นของหัวใจทารกในระยะแรกจะเร็ว > 160 ครั้ง/นาที ช้าลง
ระยะคลอด
พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
: คะแนน APGAR ต่ำกว่า 7 คะแนน "ต่ำกว่า 7 ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง หัวใจเต้นช้า"
ระบบประสาท
ทารกจะซึมหยุดหายใจบ่อย, หัวใจเต้นช้าลง ,ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสง ,ไม่มี Doll 's eye movement และ
มักเสียชีวิต
ภายใน 8 นาที ถ้าทารกไม่ได้ ช่วยอย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อมี sign ขาดออกซิเจน
การทำงานของ Cell ปอด
เสียไป ทารกมีอาการหายใจหอบ ตัวเขียว
ระบบหัวใจ และ การไหลเวียนเลือด
เลือดหัวใจเต้นเร็ว ,ผิวซีด ,หายใจแบบ Gasping มี Metabolic acidosis ,อุณหภูมิต่ำ ,ความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร
ทารกถ่ายขี้เทาขณะอยู่ในครรภ์มารดา เสียงสำลักขี้เทาเข้าปอด หางานอายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ลำไส้จะตอบสนองต่อภาวะขาดออกซิเจนโดยการหยุดทำงานทำ ให้ท้องอืดมาก เยื่อบุลำไส้ถูกทำลาย ถ้าขาดออกซิเจนนานและรุนแรงจะเสี่ยงต่อลำไส้อักเสบเน่าตาย (NEC)
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
หลังขาดออกซิเจนทารกมักจะเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมต่ำ โพแทสเซียมต่ำ ทำให้ทารกชักและเสียชีวิต
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ
ทารกจะปัสสาวะน้อยลง หรือ ไม่ถ่ายปัสสาวะหรือ ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (Hematuria)
พยาธิสภาพ
มีปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือด น้อยกว่า 40 mmHg
เลือดไปเลี้ยงสมอง หัวใจ และต่อมหมวกไต
หายใจแบบขาดอากาศ (Gasping) ประมาณ 1 นาที
หายใจไม่สม่ำเสมอและหัวใจเต้นช้าลง
ได้รับการแก้ไข
:point_right:กลับไปเป็นปกติ
ไม่ได้รับการแก้ไข
:point_right: หยุดหายใจครั้งแรก (Primary apnea)
ช่วยกู้ชีพ
:point_right: กลับไปปกติ
ไม่ช่วยกู้ชีพ
หายใจที่สม่ำเสมอประมาณ 4-5 นาที
หยุดหายใจอย่างถาวร (Secondary apnea)
1 more item...
อวัยวะอื่นมีเลือดไปเลี้ยง
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR พบการเปลี่ยนแปลงตามลำดับ
สีผิว
อัตราการหายใจ เริ่มจากไม่สม่ำเสมอ ไปจนหยุดการหายใจ
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาล
1.เตรียมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยง/อาการแสดงที่น่าสงสัยว่าจะเกิดภาวะ Asphyxia
ดูดสิ่งคัดหลั่งออกมาให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
เช็ดตัวให้แห้งทันทีหลังจากคลอด และห่อตัวเพื่อรักษาความอบอุ่น
บันทึกอัตาการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจของทารกหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน เช่นริมฝีปาก ปลายมือปลายเท้าซีด เขียวหายใจปีกจมูกบาน อกบุ๋ม
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารตามแผนการรักษา
ดูแลการทำความสะอาดร่างกาย
ดูแลให้ได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
การรักษา
mild asphyxia
1.ให้ความอบอุ่น
ภาวะตัวเย็นของทารก จะทำให้ความเป็นกรดในเลือดหายช้ากว่าที่ควรดังนั้น ต้องป้องกันไม่ให้ร่างกายเสียความร้อน ให้ได้รับ Radian warmer หรือ หลอดไฟที่เปิดอุ่นไว้ และเช็ดตัวให้แห้ง หรือ Skin to skin contact
2.ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
กรณีมีขี้เทาปน
รีบนำขี้เทาออกโดยใช้สายยางเบอร์ 12F-14F ดูดออก ถ้าหัวใจเต้นช้ากว่า 100 ครั้งต่อนาที ให้ใส่ Endotrachea tube ดูดขี้เทาออกมาทางออกมาทางคอหอยให้ได้มากที่สุด
กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
หลังจากศีรษะทารกคลอดดูด สิ่งคัดหลั่งในปากก่อนจมูก เมื่อไหล่คลอดดูด ให้หมด ก่อนคลอดลำตัวจากนั้นหลังคลอดลำตัว ให้นอนหงาย หรือ เงยหน้าเล็กน้อย ใช้ผ้าหนา 1 นิ้วหนุนไหล่ ดูดเสมหะ ใช้สายเบอร์ 8f ความดันสุญญากาศไม่เกิน 100 มิลลิเมตรปรอท
3.กระตุ้นการหายใจ
moderate asphyxia
ให้ออกซิเจน cannula 100% ถ้าปลายมือปลายเท้ายังเขียวให้เปลี่ยนเป็น ออกซิเจน mask with bag
ใส่ Feeding tube เข้าในกระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก ลมอาจเข้าขณะให้ออกซิเจน
ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลังช่วยหายใจ 30 วินาที ให้ใส่ท่อ ET tube กรณีอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้ง/นาที ให้นวดหัวใจร่วมด้วย
ให้ยา
severe asphyxia
ช่วยหายใจทันทีหลังคลอด
ใส่ท่อ ET tube
ให้ออกซิเจน 100%
ให้ออกซิเจน 100% ผ่านความชุ่มชื่นและอุ่นผ่านทาง o2 mask with bag 5 LMP ให้ใกล้จะหมดประมาณ 1 นิ้ว
4.นวดหัวใจ
ให้ยา
Epinephrine
ใช้ยา 1 : 100 ml/kg ในเวลา 5 - 10 นาที ให้ซ้ำ เมื่อตอบสนองดี
Narcan
ใช้ยาขนาด 0.1 mg/kg หรือ 0.25 mg/kg ของยาที่มีความเข้มข้น 0.05 mg/m
Chest compression
นวดบริเวณกระดูกตำแหน่ง 1 ส่วน 3 ของกระดูก 1/3 อัตราส่วนลึก
Ventilator การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
ข้อบ่งชี้
หยุดหายใจ หรือ หายใจ Gasping
อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครั้งต่อนาที
มีลักษณะตัว เขียว ขณะ ได้ออกซิเจน 100%
การใส่ท่อหลอดลมคอช่วยหายใจแรงดันบวกนาน
เมื่อให้ o2 mask with bagไม่ได้ผล
ทารกมีไส้เลื่อนกระบังลม หรือน้ำหนักตัวน้อยกว่า 1,000 กรัม
Tractile stimulation
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ถ้า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 มากกว่า 80 มิลลิเมตรปรอท , PaO2 น้อยกว่า 40 มิลลิเมตรปรอท, pH น้อยกับ 7.1
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
แคลเซียมในเลือดน้อยกว่า 8 mg%
โพแทสเซียมในเลือดสูง
ความหมาย
ภาวะที่ทารกแรกคลอดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผลให้ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซ ทำให้มี
ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ (Hypoxia)
มี
การคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (Hypercapnia)
และมีสภาพเป็น
กรดในกระแสเลือด (Metabolic acidosis)