Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36/1…
บทที่ 6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
การพยาบาลทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ (hypospadias)
การรักษา
ผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว (one-stage repair) เป็นการผ่าตัดแก้ไขให้ องคชาตยืดตรง (orthoplasty)
ผ่าตัดแบบ 2 ขั้นตอน (two-staged repair) ประกอบด้วย
1.Orthoplasty ผ่าตัดแก้ไขภาวะองคชาตโค้งงอให้ยืดตรง
Urethroplasty หลังผ่าตัด orthoplasty แล้ว 6 เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่อ บริเวณที่ผ่าตัดมาแล้ว อ่อนนุ่ม จึงกลับมาทาผ่าตัดในขั้นตอนของการตกแต่ง
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ
องคชาตยังโค้งงอ
เลือดออก หรือติดเชื้อได้
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะเก่ากับท่อปัสสาวะที่สร้างใหม่
แบ่งตามตำแหน่ง
Middle or moderate: รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางขององคชาต
Posterior or proximal or severe: รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ที่ใต้องคชาต
Anterior or distal or mild: รูเปิดท่อปัสสาวะมาเปิดทางด้านหน้า
การพยาบาล
ประเมินความเจ็บปวด
แนะนำการทำความสะอาดแผล
จัดท่านอน
ผลกระทบ
องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว ถ้างอมากก็ร่วมเพศไม่ได้
องคชาตดูแตกต่างจากปกติ เสียความมั่นใจ
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำไปด้านหน้าแต่กลับไหลไปตามถุงอัณฑะหรือด้านหน้าต้นขา
คำถามท้ายบท
2.ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง:เลือดออก ติดเชื้อ รูเปิดท่อตีบตัน องคชาตโค้งงอ
3.คำแนะนาในการดูแลหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร:ทำความสะอาดทุกครั้งหลังถ่ายอุจจาระเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
1.การรักษา hypospadia โดยการผ่าตัดควรทำเมื่อใดเพราะเหตุใด: อายุ 6-18 เดือน แต่ไม่เกิน2ปี เนื่องจากเพศมีผลต่อจิตใจ
เป็นความผิดปกติที่รูเปิดท่อปัสสสวะไปเปิดที่ด้านบนขององคชาต :
ไม่มีรูทวาร Anorectal malformation
พยาธิสรีรภาพ
ทารกเพศชายมีอาการถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะแล้วเกิดติดเชื้อ
ทารกเพศหญิงถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะหรือทางช่องคลอดแล้วเกิดติดเชื้อ
ชนิดของความผิดปกติ
• Imperforateanalmembraneมีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
• Rectal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
• Analstenosis รูทวารหนักตีบแคบ
• Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
Low type
Intermediate type
High type
อุบัติการณ์
พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง
เกิดขึ้นในอัตราส่วน 1 ใน 4000
อาการแสดง
ถ้าเลย 24 ชั่วโมงยังไม่ถ่ายให้สงสัยว่าลำไส้อุดตัน
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
แน่นท้อง ท้องอืด กระสับกระส่าย
ปวดเบ่งอุจจาระ
ความหมาย
พิการแต่กาเนิดที่ไม่มีรูทวารหนักเปิดให้อุจจาระออกจากร่างกาย (imperforate anus)
การรักษา
low type
การถ่างขยายทวารหนัก
การผ่าตัด anal membrane
การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก(anoplasty)
intermediate และ high
การทาทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง colostomy
การผ่าตัดตบแต่งทวาร(anoplasty)
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
ปัญหาที่อาจพบได้หลังผ่าตัด
กลั้นอุจจาระไม่ได้
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของแผล
ท้องผูก
การพยาบาล :
การดูแล colostomy
ดูการติดเชื้อ
สังเกตการตีบแคบ ฝึกการขับถ่าย
คำถามท้ายบท
3.อายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย:18-24เดือน สอนนั่งกระโถนเช้า-เย็น
4.หลังผ่าตัดทารูทวารหนักป้องกันการตีบแคบได้อย่างไร:หลังผ่าตัด 2 week แพทย์จะถ่างขยายรูทวาร เริ่มจากเบอร์เล็กประมาณ 7-10 มิลลิเมตร
2.การดูแล colostomy ทำอย่างไร:ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล •ครอบปากถุงให้กระชับไม่แน่นเกินไป •สังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชั่วโมง •สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม
5.วิธีการฝึกการควบคุมกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทำอย่างไร:ฝึกนั่งกระโถน เช้า-เย็น
1.สังเกตการไม่มีรูทวารหนักทารกหลังคลอดอย่างไร:จากการตรวจร่างกายว่ามีรูเปิดรึป่าว สังเกตขี้เทาต้องถ่ายภายใน 24 ชั่วโมง
หลอดอาหารตีบ,รั่ว,ตัน Esophageal stenosis
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำที่เพียงพอเนื่องจากทานทางปากไม่ได้
ดูแลไม่ให้สำลักน้ำลายน้ำย่อยอาจทำให้ปอดอักเสบหายใจลำบาก
หลังผ่าตัด
ดูแลไม่ให้ติดเชื้อของแผล GastroStomy
ดูแลสาย ICD
การรักษา
ระยะแรก
Gastrostomy
ระยะสอง
Thoracotomy and division of the fistula with Esophageal anastomosis
อาการแสดงของโรค
ทารกแรกเกิดน้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ อาจพบอากาศในกระเพาะอาหาร
ส่วนใหญ่จะมีโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ความผิดปกติของลำไส้เล็ก ไส้ตรง และรูทวารร่วมด้วย
คำถามท้ายบท
1.อาการอาการแสดงท่ีบ่งชี้ว่าหลอดอาหารตีบคืออะไร:น้ำลายไหลมาก อาเจียน สำลัก
2.อาการอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารมีรูรั่วคอือะไร:พบอากาศเข้ากระเพาะอาหาร
3.การให้นม TE fistula ทำอย่างไร:ดูแลให้สารอาหาร นม นำ้ทาง Gastrostomy tube
4.การดูแล Gastrostomy ทำอย่างไร:ล้างมือให้สะอาด •ทำแผล2ครั้งต่อวัน •สังเกตการติดเชื้อ •ให้ยา antibiotic
ความผิดปกติของผนังหน้าท้อง
อาการแสดง
มีอวัยวะภายในออกมา บวม แดง อักเสบ
ตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
ไม่มีผนังหน้าท้อง
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น เสียน้ำ
การรักษา
การผ่าตัด
ระยะแรก (primary closure) ดันลำไส้กลับเข้าไปแล้วเย็บปิดผนังหน้าท้อง
ขั้นตอน (staged closure) ในกรณีดันลำไส้กลับเข้าในช่องท้องทำให้ผนังหน้าท้องตึง ไม่สามารถเย็บปิด fascia ได้
ชนิด
Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิดมีเยื่อหุ้ม
gastroschisisผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
การพยาบาล
keepwarm
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไ้ม่สะดวก
ดูแลให้ได้สารน้ำที่เพียงพอ
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominal compartment syndrome ภาวะท้องอืดรุนแรง ปัสสาวะออกน้อยลง ความดันช่องท้องมากขึ้น
คำถามท้ายบท
1.Gastroschisis กับ Omphalocele แตกต่างกันอย่างไร: omphalocele พัฒนาไม่สมบูรณ์ ช่องท้องไม่มีเยื่อหุ้ม Gastroschisis พัฒนาสมบูรณ์ไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
2.เด็กดูแลในระยะดันลำไส้กลับในช่องท้องเด็กต้องจัดท่านอนอย่างไร เพราะเหตุใด:นอนตะแคงเพื่อลดเลือดมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
3.การฟัง bowl sound หลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็กมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร:ดูการทำงานของลำไส้
4.ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก ต้องระวังภาวะใด มีอาการและอาการแสดงอย่างไร: Abdominal compartment syndrome มีอาการหายใจลำบาก ไตวาย BPต่ำ
ปากแหว่ง-เพดานโหว่ (Cleft-lip , Cleft-palate )
อาการและอาการแสดง
การดูดกลืนจะผิดปกติ ทำให้เกิดลมเข้าไปท้องอืดได้
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ
หายใจลำบาก
อาจติดเชื้อในหูช้ันกลางได้ยินผิดปกติ
ปัญหาที่เกิดร่วมกับความผิดปกติ
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับทำให้อาหารเข้าหลอดลม
พูดไม่ชัดเนื่องจากเพดานปากเชื่อมติดกับเพดานจมูก
หายใจลำบาก
การวินิจฉัย
ซักประวัติเพื่อหาสาเหตุทางกรรมพันธุ์
การตรวจร่างกายเพดานโหว่โดยสอดนิ้วตรวจเพดานปากภายในเวลาเด็กร้อง
ตรวจได้เมื่ออายุครรภ์13-14สัปดาห์ด้วยultrasound
การรักษา
ทำโดยการผ่าตัด
อาจทำภายใน48ชม.หลังคลอดในรายท่ีเด็กสมบูรณ์ดี
อาจรออายอายุอย่างน้อย 8 - 12 สัปดาห์ ริมฝีปากโตพอสมควรชัดเจน ผ่าตัดได้ง่ายและได้ผลดีกว่า
“กฎเกิน10” คือ ผ่าตัดเมื่อเด็กอายุ10 สัปดาห์ข้ึนไป น้ำหนักตัว10 ปอนด์ ฮีโมโกลบิน 10 กรัมเปอร์เซ็นต์ขึ้นไป
ชนิดการผ่าตัด
Triangular Flap ปากแหว่งด้านซ้าย
Rotation Advancement Method ปากแหว่งด้านขวา
StraightLineRepair ปากแหว่ง 2 ด้าน
อุบัติการณ์
พบในทารกเพศชาย มากกว่าเพศหญิง
การพยาบาล
ดูแลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด
สนับสนุนครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแล
สอนการให้นมที่ถูกวิธี
ดูแลไม่ให้มีการติดเชื้อ อุดกั้นทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำที่เพียงพอ
ความหมาย
ปากแหว่ง(Cleft-lip)หมายถึงมีความผิดปกติบริเวณริมฝีปากเพดาน ส่วนหน้าแยกออกจากกัน ช่วง4-7 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์
เพดานโหว่ (Cleft-palate)มีความผิดปกติบริเวณเพดานหลงัแยก ออกจากกันซึ่งเกิดได้ระยะทารกอยู่ในครรภ์มารดาชว่ง12สัปดาห์
คำถามท้ายบท
1.ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญเด็กปากแหส่งเพดานโหว่ในระยะก่อนผ่าตัด คือเรื่องใดมีวิธีการป้องกันอย่างไร : ติดเชื้อทางเดินหายใจ,หูชั้นกลาง,การอุดกั้นทางเดินหายใจ,การสำลัก
2.การผ่าตัดปากแหว่งควรทำเมื่อใด/ การผ่าตัดเพดานโหว่ควรทำเมื่อใด : แรกเกิดจะได้รับการซ่อมแซมริมฝีปากอายุ 3-6 เดือน ซ่อมเพดานปากอายุ 1 ปี
3.หลังผ่าตัดการดูแลเพื่อป้องกันแผลแยกทำอย่างไร : •ล้างมือให้สะอาด •ผูกยึด elbow restraint ไม่ให้งอ 2-6 week หลังผ่าตัดค่อยคลายออกทุก 1-2 ชั่วโมงครั้งละ 10-15 นาที •งดสายยางดูดเข้าช่องปาก •ไม่ให้ดูดนม 1 เดือนให้หยอด syring แทน
4.หลังผ่าตัดทารกควรนอนท่าใด: นอนหงายหรือตะแคงด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำ
5.หลังผ่าตัดทารกจะดูดขวดนมได้เมื่อใด:ไม่ให้ดูดนม 1 เดือน ให้หยอด syring แทน
สิ่งที่ควรรู้
ความพิการแต่กำเนิดแบ่งได้ 2 ส่วน
1.ความพิการทางด้านโครงสร้างของร่างกาย เช่น คลอดออกมาแล้ว เป็นโรคหัวใจ ปากแหว่งเพดานโหว่ แขนขาขาด
2.ความพิการของการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย เช่น มีภาวะ ต่อมไทรอยด์บกพร่องหรือกลุ่มโรคโลหิตจาง ธาลัสซีเมีย
ความพิการที่พบได้บ่อยสุด 4 อันดับ
แขนขาพิการ
ปากแหว่งเพดานโหว่
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
กลุ่มอาการดาวน์
วันที่ 3 มี.ค ของทุกปีคือ “วันทารกและเด็กพิการแต่กาเนิดโลก ”
ปัจจัยที่ส่งผล
การป้องกัน
มารับวัคซีน
งดสูบบุหรี่และแอลกอฮอล์
รับประทานโฟเลตในช่วงก่อนตั้งครรภ์
สูบบุหรี่ดื่มแอลกอฮอล์
จำแนกตามกลไกการเกิด
2.Deformation เกิดจากการที่มีแรงกระทาจากภายนอกทาให้อวัยวะผิดรูปไปในระหว่างการเจริญพัฒนาของอวัยวะนั้น
3.Disruption คือ ภาวะที่โครงสร้างของอวัยวะหรือเน้ือเยื่อผิดปกติจาก
สาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการเจริญพฒันาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
1.Malformation คือลักษณะของอวัยวะท่ีผดิรูปร่างไปเกิดจาก
กระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
4.Dysplasia เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเน้ือเยื่อ
สาเหตุความพิการแต่กำเนิด
พันธุกรรม
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะจากมารดาในระหว่างตั้งครรภ์
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติด
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า รวมท้ังสารกัมมันตรังสีทางการแพทย์
โรคติดเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อนระหว่างต้ังครรภ์
มารดามีอายุมากเกินไป
นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36/1 เลขที่ 50 รหัสนักศึกษา 612001051