Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการตั้งแต่กำเนิด - Coggle Diagram
บทที่6 การพยาบาลเด็กที่มีความพิการตั้งแต่กำเนิด
ปากแหว่งเพดาวโหว่(Cleft palate)
การวินิจฉัย
Ultrasound ได้เมื่อครรภ์13-14Wks.
ตรวจร่างกาย โดนสอดนิ้วตรวจเพดานปากภายในหรือดูช่องปากเวลาเด็กร้อง
ซักประวัติทางพันธุกรรม
อาการแสดง
พูดไม่ชัดจากเพดานปากเชื่อมกับเพดานจมูก
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้ได้ยินผิดปกติ
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ
ท้องอืดจากการปากแหว่งเพดานโหว่ ดูดกลืนผิดปกติอมหัวนมไม่สนิท มีรูรั่วให้ลมเข้า
หายใจลำบาก
อุบัติการณ์
ปากแหว่งอย่างเดียวอาจเป็นข้างเดียวพบได้21%หญิง>ชาย
ปากแหว่งสองร่วมกับเพดานโหว่พบได้46%
เพดานโหว่อย่างเดียวพบได้33%
ปากแหว่งเพดานโหว่ เพดานโหว่อย่างเดียวพบชาย>หญิง
การรักษา
การผ่าตัดปากแหว่ง
อาจทำภายใน48ชม.หลังคลอดในรายที่เด็กสมบูรณ์ดี
ใช้กฎเกิน10
น้ำหนักตัว10ปอนด์
Hct.เกิน10g%
อายุเกิน10wks.
รอเด็กอายุ8-12Wks. ระยะนี้จะผ่าตัดได้ง่าย
เพดานโหว่
5ปีปรึกษาทันตกรรมจัดฟัน
ผ่าตัดเพดานเพื่อให้พูดชัดมากขึ้น
3ปีผ่าตัดแก้ไขจมูก
ใส่เพดานเทียมปิดเพดานที่โหว่เพื่อให้ดูดนมได้
ตัดแต่งเพิ่มเติม
เพดานโหว่
เพดานหลังแยกออกจากกัน เกิดได้ในช่วง 12Wks.
เพดานหลังเจริญเป็นเพดานแข็ง เพดานอ่อนหลังช่องโหว่หลังฟันหน้า
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลแผลเพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังการผ่าตัด
ดูแลให้ได้รับนมอย่างถูกวิธี
ดูแลให้เด็กเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติมากที่สุด
บรรเทาอาการปวด
ส่งเสริมสนับสนุนครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแลให้เด็กได้รับการดูแลครบถ้วน
ปากแหว่ง
ความผิดปกติบริเวณริมฝีปาก เพดาน ส่วนหน้าแยกออกจากกัน
Omphalocele
การวินิจฉัย
Untrasound
อาการ
หลังคลอดพบผนังช่องท้องโหว่
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
ตัวเย็น
อาจมีการติดเชื้อจากการไม่มีผนังหน้าท้อง ลำไส้สำผัสกับภายนอกโดยตรง
พบได้1:4000ของการคลอดและพบในมารดาอายุมาก
การรักษา
ลดภาวะแทรกซ้อน
ผ่าตัดปิดผนังหน้าท้อง
หากขนาดไม่ใหญ่มากใช้แผ่นsilastic ปิดทับถุงomphalocele พันด้วย elastric wrap ทำให้อวัยวะถูกดันกลับทีละน้อยและปิดลง
มีเยื่อ peritoneum,Wharton's jelly'amnion หุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง
การพยาบาล
ให้สารน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
ระวังการติดเชื้อ
ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ช่องท้องไม่ปิด
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ(Hypospadias)
การรักษา
เด็กที่ต่ำกว่าปกติเพียงเล็กน้อยไม่ต้องผ่าตัด
กรณีที่ต้องผ่าตัด
เวลาปัสสาวะไม่ออกตรง
เด็กที่มีความผิดปกติมาก ผ่าตัดตกแต่งให้ท่ออยู่ในตำแหน่งปกติที่ปลายองคชาต
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดการตีบตันของท่อปัสสาวะ
องคชาตโค้งงอแก้โดยผ่าตัด
เลือดออก ติดเชื้อ
มีรูตรงรอยต่อท่อปัสสาวะเก่ากับใหม่
ชนิด
middle,moderate
รูเปิดอยู่กลางองคชาต ความผิดปกติขนาดกลาง พบร้อยละ30
posterior,proximal,severs
รูเปิดอยู่ใต้องคชาต ผิดปกติมาก พบร้อยละ20
anterior,distal,mild
รูเปิดท่อมาเปิดด้านหน้าหรือปลายองคชาตมีรูเปิดต่ำกว่าปกติเพียงเล็กน้อย พบร้อยละ50-60
การพยาบาล
ป้องกันการติดเชื้อ
ประเมินความเจ็บปวด
จัดท่านอนในท่าที่สบาย
ให้ครอบครัวดูแลอย่างใกล้ชิด
ดูแลการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
แนะนำการดูแลทำความสะอาดให้พ่อแม่
ประเมินความวิตกกังวล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่งไปด้านหน้า ไหลลงตามอัณฑะหน้าลงไป
องคชาตงอ เวลาแข็งตัวทำให้ร่วมเพศยากและเสี่ยงต่อภาวะมีบุตรยาก
องคชาตผิดปกติ สูญเสียความมั่นใจ
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
หากมีไข้ แผลแดงอักเสบ ปัสสาวะมีตะกอนขุ่น ให้มาพบแพทย์ทันที
สังเกตปริมาณปัสสาวะการพุ่งของน้ำปัสสาวะ
ทำความสะอาดทุกครั้งหลังถ่ายเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
พบแพทย์ตามนัด
อัตราการเกิด1:300ในเพศชาย
Anorectal malformation
ชนิดความผิดปกติ
Imperforate anal membrane มีเยื่อปิดกั้นรูทวารหนัก
Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
Intermediate type
Hight type
Low type
Anal stenosis รูทวารหลังตีบแคบ
อาการ
กระสับกระส่ายอึดอัด
ปวดเบ่งอุจจาระ
แน่นท้อง ท้องอืด
ไม่มีการถ่ายขี้เทาภายใน24ชม.
ไม่พบรูทวารหนัก
ไม่พบเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
พยาธิ
ถ่ายอุจจาระลำบากหรือไม่ถ่าย
เพศชาย ถ่ายขี้เทาทางท่อปัสสาวะ
ท้องผูก
เพศหญิงถ่ายขี้เทาทางท่อปัสสาวะหรือช่องคลอด
การวินิจฉัย
X-ray
Untrasound
CT scan
MRI
ตรวจร่างกาย
อุบัติการณ์
ชาย>หญิง
เกิดอัตราส่วน1:4000ของเด็ก
การรักษา
การถ่างขยายทวารหนัก
ทำทวารเทียมทางหน้าท้อง
ผ่าตัดตกแต่งทวาร
เป็นความผิดปกติโดยไม่มีรูทวาร รูทวารผิดตำแหน่งหรือตีบแคบ
การพยาบาล
ให้กำลังใจ
รักษาความสะอาด
ดูแลcolostomy
ทานอาหารย่อยง่าย
สาเหตุความพิการ
พันธุกรรม
คนในครอบครัวมีความพิการแต่กำเนิดสามารถเป็นได้
Ex.ปากแหว่งเพดานโหว่
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม(โดยเฉพาะจากมารดาในการตั้งครรภ์
มารดากินยาหรือสารเสพติด
โอกาสเกิดร้อยละ32
ผิดปกติหน้า หัวใจ ข้อ อวัยวะเพศ
ศีรษะเล็ก ปัญญาอ่อน เติบโตช้า
ได้รับสารเคมี ปรอท
โรคนินามาตะ
มีอาการชัก
พิการทางสมอง
ขาดสารอาหาร วิตามิน
ขาดวิตามินที่เหมาะสมขณะตั้งครรภ์
ปากแหว่งเพดานโหว่
สารกัมมันตรังสี รังสีเอ็กซ์ รังสีแกรมม่า
ศีรษะเล็ก ลูกตาเล็ก
ผิดปกติของกระดูกสันหลังและเเขนขา
โรคติดเชื้อ
หัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์ไม่เกิน16Wks.=เด็กในครรภ์ตาย คลอดออกมาพิการ
หัวใจพิการ
ตับ ม้าม โต
สมองพิการ ปัญญาอ่อน
เด็กมีขนาดตัวเล็ก
ตาบอด หูหนวก
มีเลือดออกตามผิวหนัง
ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ครรภ์เป็นพิษ
รกเกาะผิดที่ คลอดลำบาก
มาดาที่มีอายุมากเกินไป
มารดาที่มีอายุ>35ปีมีโอกาสเกิดความพิการได้มาก
ความพิการตั้งแต่กำเนิดแบ่งได้2ส่วน
2.ความพิการของการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย
มีภาวะเลือดจาง
มีภาวะต่อมไทรอยด์บกพร่อง
ความพิการที่พบบ่อยที่สุด
ปากแหว่งเพดานโหว่
กลุ่มอาการดาวน์
แขนขาพิการ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
1.พิการทางด้านโครงสร้างของร่างกาย
ปากแหว่งเพดานโหว่
คลอดมาแล้วเป็นโรคหัวใจ
เเขนขาขาด
การป้องกัน
รับประทานโฟเลตในช่วงก่อนตั้งครรภ์
ลดปัจจัยเสี่ยง
ไม่ดื่มแอลกอฮอล์สุรา
งดสูบบุหรี่
รับวัคซีนให้ครบตามจำนวน
การจำแนกกลไกการเกิด
Deformation
เกิดจากการที่มีแรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะผิดรูปไปในระหว่างเจริญพัฒนาของอวัยวะนั้น
ถุงน้ำคร่ำรั่วระหว่างการตั้งครรภ์ทำให้เกิด oligohydramnios sequence น้ำคร่ำน้อย พื้นที่จำกัดทำให้เกิดการผิดรูป
กลุ่มอาการโรค
ข้อติด
ศีรษะผิดรูปจากการมีเนื้องอกมดลูกไปกดเบียด
เท้าปุก
Disruption
ภาวะที่โครงสร้าอวัยวะ เนื้อเยื่อผิดปกติ
จากสาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการเจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
กลุ่มอาการโรค
ทารกขาดเลือดไปเลี้ยงสมองส่วนปลาย
มีการฉีกขาดของ amnion ทำให้เกิด amniotic bandผูกรัดแขนขาทารกเกิด limbs deefect
การบาดเจ็บของอวัยวะและเนื้อเยื่อ
Malformation
ลักษณะของอวัยวะผิดรูปร่างไป
อาจเกิดจากพันธุกรรมหรือสิ่งอแวดล้อม
กลุ่มอาการโรค
ติ่งที่บริเวณหู
ปากแหว่งเพดานโหว่
นิ้วเกิน
นิ้วแยกกันไม่สมบูรณ์
เท้าปุก
เกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
Dysplasia
ความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย
กลุ่มอาการโรค
โรค skeletal dysplasia เกิดจากความผิดปกติของกระดูกที่มีสาเหตุจากพันธุกรรม
Achondroplasia เด็กจะมีลักษณะเตี้ย แขนขาสั้น ศีรษะโต สันจมูกแบน
พบได้ร้อยละ20ในทารกที่เสียชีวิต
Major anomalies
ความผิดปกติที่ทำให้การทำงานอวัยวะนั้นเสียไป
จำเป็นต้องได้รับการรักษา
ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด(neural tube defects)
โรคหัวใจแต่กำเนิด(congenitalheart diseases)
ปากแหว่งเพดานโหว่ (cleft palete)
พบร้อยละ2-3ของทารกแรกเกิด
Minoranomalies
ความผิดปกติที่ไม่ทำให้การทำงานของวัยวะนั้นเสียไป
เช่น
การพับที่ผิวหนังเปลือกตาบน(epicanthic fold)
ติ่งบริเวณหู(preauricular skin tag)
ปาน(Cafeau laities spots)
พบได้<ร้อยละ5ของประชากร
หลอดอาหารตีบรั่วตัน
การรักษา
ระยะแรก
Gastrostomy
ระยะสอง
Thoracotomy and division of the fistula with Esophageal anastomosis
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
อาจเกิดการอักเสบหายใจลำบากหรือหยุดหายใจจากการสำลักน้ำลาย
On NG tube ต่อ suction
ดูแลให้ออกซิเจน
พลิกตะเเคงตัวบ่อยๆ
จัดท่านอนให้เหมาะสม
ให้ยาตามแผนการรักษา
อาจได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ดูแลให้อาหารทางgastrostomy
ให้สารนำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันท่อระบายทรวงอก
จัดท่านอนศีรษะสูง
บันทึกสี ปริมาณ discharge
ตรวจสอบICD
ระวังสายหัก พับ งอ นวดคลึงบ่อยๆ
อาจเกิดการติดเชื้อที่แผล Gastrostomy
ทำแผลวันละ2ครั้ง
ให้ยาตามแผนการรักษา
สังเกตการติดเชื้อ
อาการ
น้ำลายไหลมาก อาเจียน สำลัก
มักมีความผิดปกติลำไส้เล็ก ไส้ตรง รูทวารร่วมด้วย
อาจพบอากาศในกระเพาะอาหาร