Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสวนล้าง, นางสาวแสงอรุณ ศรีสุภา เลขที่57 รหัสนักศึกษา 623020110572…
การสวนล้าง
การล้างตา
-
-
โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อขจัดฝุ่นละออง สารเคมี ล้างพิษหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากตา บรรเทาอาการเจ็บปวด ล้างตาเตรียมความสะอาดก่อนผ่าตัด และทำให้เกิดความสุขสบาย
-
วิธีปฏิบัติ
- ล้างมือ เปิดชุดล้างตาไร้เชื้อ (sterile) เทน้ำยาล้างตาลงในถ้วยใบเล็กใช้ syringe ดูดน้ำยาจากถ้วยใบเล็ก หรือใช้ Set IV ต่อกับ NSS ล้างตาให้ผู้ป่วยป้องกันการติดเชื้อไปสู่ผู้ป่วย และเตรียมของให้พร้อมใช้
- ใช้หัวแม่มือและนิ้วชี้ข้างที่ไม่ถนัดค่อยๆเปิดหนังตาบนและล่างของผู้ป่วยเพื่อสะดวกในการปฏิบัติหัตถการ
- จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายไม่หนุนหมอน ใช้ผ้ายางรองใต้ศีรษะผู้ป่วย นำชามรูปไตรองใต้หางตาผู้ป่วยข้างที่ต้องการจะล้าง จัดให้ส่วนเว้าของชามรูปไตกระชับกับส่วนโค้งของใบหน้า บอกให้ผู้ป่วยเอียงใบหน้ามาข้างที่จะล้างเพื่อสะดวกในการปฏิบัติหัตถการ และป้องกันเปื้อนตัวผู้ป่วย หมอน และที่นอน
- ใช้มือข้างที่ถนัดจับ syringe แล้วค่อยๆดันน้ำยาให้ไหลจากหัวตาเป็นสายตลอดเวลา พร้อมทั้งให้ผู้ป่วยกลอกตาขณะทำการล้างตาจนสะอาดเพื่อเพื่อขจัดฝุ่นละออง สารเคมี ล้างพิษหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากตา บรรเทาอาการเจ็บปวด ล้างตาเตรียมความสะอาดก่อนผ่าตัด และทำให้เกิดความสุขสบาย
- ล้างมือ เตรียมอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อไปสู่ผู้ป่วย
- แนะนำตัว อธิบายวัตถุประสงค์ และบอกขั้นตอนการล้างตาให้ผู้ป่วยทราบเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและให้ความร่วมมือ
-
8.นำอุปกรณ์ไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ และล้างมือ เพื่อทำลายเชื้อโรค และป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
-
-
การล้างหู
-
การล้างหู (Ears washing) หมายถึง การใช้น้ำอุ่นที่สะอาดฉีดเข้าไปในช่องหู โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อล้างสิ่งที่ไม่ต้องการ หรือเอาสิ่งแปลกปลอมออกจากหู
-
วิธีปฏิบัติ
6.ใช้มือข้างหนึ่งดึงใบหูผู้ป่วยไปข้างหลังและขึ้นข้างบน สอดปลายเข็มเข้าไปในรูหูประมาณครึ่งนิ้ว แล้วฉีดน้ำอุ่นเข้าไปในรูหู โดยฉีดไปทางด้านหลังของรูหูและค่อนไปทางข้างบน เอียงศีรษะให้น้ำไหลออก และคอยสังเกตสิ่งแปลกปลอมที่หลุดออกมา ล้างต่อไปจนสะอาด
-
-
- นำ syringe ต่อกับเข็มฉีดยาพลาสติก ดูดน้ำอุ่นจนเต็มกระบอกสูบ
-
-
4.ใช้เครื่องตรวจหูที่ใส่อุปกรณ์ถ่างรูหู ส่องดูในรูหูผู้ป่วย เพื่อดูขนาดและลักษณะของขี้หู หรือสิ่งแปลกปลอม
-
-
3.จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งเอียงศีรษะไปด้านตรงกันข้ามกับข้างที่จะล้างเล็กน้อย ใช้ผ้ายางหรือผ้ารองกันเปื้อนวางบริเวณคอและไหล่ของผู้ป่วย
-
-
-
จุดเน้นสำคัญ
-
-
เทคนิคและจุดสร้างคุณภาพ
น้ำที่ใช้ควรมีอุณหภูมิพอเหมาะ (37 องศาเซลเซียสเท่ากับ) ไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป เพราะอาจกระตุ้นให้เกิดการเวียนศีรษะได้
-
การสวนล้างกระเพาะอาหารและลำไส้
การล้างกระเพาะอาหารและลำไส้ หมายถึง การใส่สารละลายเข้าไปทางสายถึงกระเพาะอาหาร แล้วดูดออกหรือปล่อยให้ไหลออกทางสาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ที่เข้าไปในกระเพาะอาหารเช่น สารพิษ สารเคมี การวินิจฉัยเลือดออกในกระเพาะอาหารและการห้ามเลือด ล้างกระเพาะอาหารสำหรับการตรวจโดยการส่องกล้อง ทำให้กระเพาะอาหารว่าง และลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด ในกรณีผู้ป่วยได้รับสารพิษ ควรเลือกใช้สารละลายแก้พิษ (Antidote) เข้าไปล้าง การล้างกระเพาะจะได้ประโยชน์สำหรับสารพิษที่เข้าไปไม่เกิน 4 ชั่วโมง
อุปกรณ์
-
-
-
-
-
-
-
-
เช่นเดียวกับการใส่สายทางจมูกถึงกระเพาะอาหาร ยกเว้นขนาดของสาย เลือกใช้สายที่มีขนาด
ใหญ่ หรือสายที่มี 2 หาง เช่น sump tube
-
วิธีปฏิบัติ
-
6.เทสารละลายใส่ภาชนะรองรับ ใช้กระบอกฉีดยาดูดสารละลาย 50 cc เพื่อความสะดวกในการดูดสารละลายที่จะใช้ล้างกระเพาะอาหาร
-
7.หักพับสายแล้วต่อกระบอกฉีดยาเข้ากับสาย แล้วปล่อยสายที่หักพับ ค่อยๆดันสารละลายเข้าไปและดูดออก ทำซ้ำไปเรื่อยๆจนกว่าจะพบว่าสารละลายที่ไหลออกเจือจางลง ใสใกล้เคียงกับสีปกติ จึงหยุดเพื่อป้องกันน้ำภายในไหลออกและลดอากาศจากภายนอกเข้าไป และเพื่อล้างสารพิษออกให้มากที่สุด
- คลุมผ้าให้ผู้ป่วยบริเวณใต้คางถึงหน้าอกเพื่อความสะอาด ป้องกันการเปียกชื้นของเสื้อ และผ้าปูที่นอน
8.จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายหรือขวาศีรษะต่ำ 15 องศา หากไม่มีข้อห้ามอื่นเพื่อให้สารละลายที่ตกค้างอยู่ในกระเพาะอาหารไหลออก ป้องกันการสูดสำลัก
-
-
1.แนะนำตัว อธิบายวัตถุประสงค์ และบอกขั้นตอนการล้างกระเพาะอาหาร ให้ผู้ป่วยทราบ พร้อมจัดท่านอนราบตะแคงศีรษะไปด้านซ้ายเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและให้ความร่วมมือและป้องกันการสำลัก
-
-
การสวนปัสสาวะ
-
การสวนปัสสาวะ หมายถึง การสอดใส่สายสวน (catheter) จากภายนอกผ่านท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ แบ่งตามเทคนิคได้ 2 ชนิด ได้แก่ การสวนปัสสาวะชนิดเป็นครั้งคราว (intermittent catheterization) และการสวนปัสสาวะชนิดคาสายปัสสาวะ (indwelling catheterization or retained catheterizations: IUCs) ซึ่งการสวนปัสสาวะชนิดคาสายปัสสาวะมีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้ป่วยที่รับการรักษาในโรงพยาบาล โดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ
-
-
-
วิธีปฏิบัติ
๗. ล้างมือเปิดชุดสวนปัสสาวะ ฉีกอุปกรณ์ลงในชุดสวนปัสสาวะ ได้แก่ Foley’s Catheter, Urine bag บีบ K-Y jelly ไว้ในก็อสที่อยู่ในชุดสวนปัสสาวะ เทน้ำยา 0.9%NSS
๘. สวมถุงมือสะอาดปราศจากเชื้อ หล่อลื่นปลายสายสวน หญิง 1-3 นิ้ว ชาย 5-8 นิ้ว หรือสาย Foley’s catheter
-
๙. ปูผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง ใช้ชายผ้าต่อกับน้ำห่อชุดสวนปัสสาวะ (กรณีเป็นการสวนค้างและไม่มีการเก็บปัสสาวะส่งตรวจให้ต่อสาย Foley’s Catheter กับ Urine bag)
๔. ล้างมือ เปิดชุดการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ สอดหม้อนอน (กรณีผู้ป่วยมีผ้าอ้อมสำเร็จรูปสามารถใช้รองรับได้)เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาล
-
-
๑๑. Inflate balloon catheter 10 cc ด้วย STW พร้อมทดสอบไม่ให้สายเลื่อนหลุด ติดปลาสเตอร์เพื่อตรึงสาย Foley’s catheter ให้อยู่กับที่ (เพศหญิงติดขาด้านใน เพศชายติดบริเวณเหนือหัวเหน่า)
๓. จัดสิ่งแวดล้อมและจัดท่านอนผู้ป่วย (เลือกทำในเพศหญิงหรือเพศชาย)เพื่อปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลไม่เปิดเผยผู้ป่วย
-
-
- แขวน Urine bag ต่ำกว่าระดับเอว ประเมินปริมาณปัสสาวะและสังเกตลักษณะของน้ำปัสสาวะ
-
- นำอุปกรณ์ใช้แล้วไปทำความสะอาดและเก็บเข้าที่ถอดถุงมือและล้างมือ
๑. แนะนำตัว อธิบายจุดประสงค์และวิธีการสวนปัสสาวะให้ผู้ป่วยและญาติทราบเพื่อให้เกิดความร่วมมือในกิจกรรมการพยาบาล
-
การสวนล้างลำไส้
ปัจจุบันมีแพทย์ที่ใช้การสวนล้างลำไส้ในการรักษาโรคต่างๆโดยเฉพาะมะเร็ง หรือช่วยในการเตรียมผ่าตัด โดยปัจจุบันนิยมวิธีการฉีดของเหลวเข้าร่างกายผ่านทางช่องทวารหนักเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายขับของเสียออกมา ซึ่งเป็นน้ำยาสำเร็จรูปหรือการสวนล้างลำไส้ส่วนของ Colostomy ซึ่งเป็นการผ่าตัดช่องท้องเพื่อทำทางออกของอุจจาระ (artificial anus) ขึ้นมาที่ผนังหน้าท้อง ในรายที่ผู้ป่วยเกิดมีการอุดตันของลำไส้ใหญ่ส่วนล่างอุจจาระจะออกมาจากลำไส้ผ่านเข้ามาทางผนังหน้าท้องที่ผ่าตัดไว้ ช่องที่เปิดหน้าท้องนี้ เรียกว่า รูเปิด (stoma) ทั้งมีมีทั้งแบบชั่วคราวหรือถาวร
-
-
วัตถุประสงค์เพื่อช่วยขับถ่ายสิ่งที่อยู่ในลำไส้ใหญ่คือของเหลวอุจจาระแก๊ส เพื่อล้างส่วนล่างของทางเดินอาหาร เตรียมผ่าตัด
อุปกรณ์
-
-
หม้อหรือถุงพลาสติก ที่ใส่น้ำยาสำหรับล้างน้ำยาที่ใช้อาจใช้น้ำอุ่น น้ำเกลือหรือน้ำกลั่น ให้อุ่นประมาณ 103-105 องศาฟาเรนไฮต์ จำนวนที่ใช้ประมาณ 1,000 – 2,000 cc
น้ำยาหล่อลื่น
หรือปัจจุบันนิยมใช้น้ำยาสำเร็จรูป และถุงมือสะอาด ในเอกสารฉบับนี้ผู้เขียนขอกล่าวถึงวิธีที่นิยมในปัจจุบัน
วิธีปฏิบัติ
- นำน้ำยาสำเร็จรูปค่อยๆ สอดเข้าไปในรูทวารหนัก บีบน้ำยา จนหมดขวดเพื่อให้น้ำยาช่วยสวนล้างลำไส้
-
- จัดท่าสุขสบายให้ผู้ป่วย เก็บอุปกรณ์ ล้างมือเพื่อทำลายเชื้อโรค และป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
- ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด หล่อลื่นทวารด้วยน้ำยาหล่อลื่นลดการแพร่กระจายเชื้อ และเพื่อให้สามารถสอดใส่น้ำยาได้ง่ายบรรเทาการระคายเคืองรูทวาร
- เขียนรายงานลงในรายงานให้การพยาบาล (nurse's notes) เกี่ยวกับผลของการพยาบาลเพื่อประกอบการวินิจฉัยและวางแผนการพยาบาล
- แจ้งวัตถุประสงค์ อธิบายขั้นตอน จัดท่าท่าที่เหมาะสมโดยนอนตะแคงซ้าย ใช้ผ้ายางรองบริเวณก้น เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและให้ความร่วมมือ และเพื่อสะดวกต่อการสวนอุจจาระ
จุดเน้นสำคัญ
เทคนิคและจุดสร้างคุณภาพการเปิดเผยส่วนล่างของผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ผู้ปฏิบัติควรคำนึงถึงความรู้สึกของผู้ป่วยอย่างมาก เพราะผู้ป่วยจะเขินอายและวิตกกังวล จึงควรให้การปกปิดร่างกาย เปิดเฉพาะส่วนที่จำเป็น กั้นม่านให้มิดชิด คลุมผ้าให้รู้สึกอบอุ่นไม่โล่งเปลือย และทำความสะอาดเปลี่ยนเสื้อผ้าให้เรียบร้อยเมื่อสวนอุจจาระแล้วเสร็จ
-
นางสาวแสงอรุณ ศรีสุภา เลขที่57 รหัสนักศึกษา 623020110572 นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่2 รุ่นที่ 27 ห้อง A