Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, UTB84OiIi_…
บทที่ 6 การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
Anorectal malformation
พยาธิสรีรภาพ
ทารกมีอาการท้องผูก /ถ่ายอุจจาระลำบาก/หรือไม่ถ่ายอุจจาระทารกเพศชายมีอาการถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง "ขี้เทา" (Meconium)
2.ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
3.ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของล าไส้หากมีการอุดตันของสำไส้เป็นเวลานานกาก
กระสับกระส่าย อืดอัด ไม่สบายเนื้อสบายตัว
5.แน่นท้อง ท้องอืด
6.ปวดเบ่งอุจจาระ
7.ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
การรักษา
ความผิดปกติ low type มีการรักษา 3 วิธี
การถ่างขยายทวารหนัก โดยใช้ hegar metal dilators โดยใช้เบอร์ 9-10 mm
การผ่าตัด anal membrane ออกในรายที่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก (anoplasty) เมื่อแผลผ่าตัดติดเรียบร้อยแล้ว
ประมาณ 10 วัน ถ่างขยายทวารหนักต่อ
ความผิดปกติ intermediate และ high
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระออก (colostomy)
การผ่าตัดตบแต่งทวาร (anoplasty) ภายหลังผ่าตัดประมาณ 2สัปดาห์
Colostomy Care
ความสัมพันธ์ อายุกับ hegar metal dilator
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
สอนการดูแลในการถ่างขยายรูทวารหนัก
ใช้สารหล่อลื่น
เลือกขนาดเครื่องมือตามแผนการรักษา
สังเกตการมีเลือดออก
ถ้ามีการอักเสบแนะนำให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น และทำความสะอาดหลังขับถ่าย
การพยาบาลหลังผ่าตัดเปิด colostomy
หลังผ่าตัดสัปดาห์แรก รูเปิดยังไม่หายให้ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล
และสังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชั่วโมง
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณอุจจาระในถุง 1⁄4-1/3 ของถุง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม ถ้ามีการอักเสบ รอยถลอกรายงานแพทย์
แนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง แคลอรีสูง มีกากใยมาก
สังเกตและบันทึกอุจจาระ เช่น ท้องผูก ท้องเสีย อุจจาระมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ
สังเกตภาวะแทรกซ้อนของทวารเทียม เช่น เลือดออก ลำไส้ยื่นออกมา การหดรั้งลำไส้เข้าช่องท้อง
การพยาบาลระยะก่อนและหลังผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก (anoplasty
)
เสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดทวารหนัก
ทำความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัดรูทวารหนัก 8-10 วันตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด 3-4 วันหลังถอดสายสวนปัสสาวะให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่นกระตุ้นการไหลเวียนและลดการอักเสบ
ดูแลความสะอาดผิวหนังรอบๆทวารหนักด้วยน้ำ
ให้คำแนะนำระยะหลังผ่าตัด 7-10 วันไม่ให้นอนกางขา นั่ง
ให้ความรู้การถ่างขยายทวารหนักและประเมินความรู้
ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การถ่างขยายรูทวารหนักสม่ำเสมอ
สอนทำความสะอาดเทียนไข ทวารหนัก
สังเกตการตีบแคบของทวารหนัก
ฝึกขับถ่าย ฝึกกล้ามเนื้อที่ช่วยควบคุมการถ่ายอุจจาระ
Omphalocele/ Gastroschisis
Omphalocele
ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด มีเยื่อบางๆของ peritoneum, Wharton's jelly, amnion หุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง
gastroschisis
ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดือแตกตอนgastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดือแตกตอนสายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
อาการ/อาการแสดง
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น จากน้ำระเหยจากผิวของลำไส้ ทำให้และสูญเสียน้ำ
อาจพบความผิดปกติอื่นร่วมด้วยส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของลำไส้ เช่น malrotation,intestinal atresia
การรักษา
omphalocele
ใช้แผ่น silasticปิดถุง omphalocele พันด้วยผ้ายืด elastric wrap ทำให้อวัยวะนอก
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก(primary closure)
เป็นการปิดหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรกโดย ดันลไส้กลับเข้าไปในช่องท้อง แล้วเย็บปิดผนังหน้าท้องและ
เย็บปิดfascia
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน (staged closure)
ในกรณีดันลำไส้กลับเข้าในช่องท้องทำให้ผนังหน้าท้องตึง
ไม่สามารถเย็บปิด fascia ได้
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer
ใช้ sterile technique พยายามให้ลำไส้สะอาด โดยการใช้ผ้า gauze ที่ชุบ normal saline ที่อุ่นลูบเช็ดลำไส้เอาสิ่งที่contaminate ออก
ประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้งโดยการใช้ผ้า gauze ม้วนพันประคองไว้ไม่ให้ล้มพับ ซึ่งถ้าล้มพับลำไส้จะไปกดกับขอบของช่องโหว่ ทำให้เกิดลำไส้ขาดออกซิเจน
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดดำตามแผนการรักษาปริมาณที่ให้โดยประเมินว่ามีสูญเสียน้ำ
การพยาบาลในขณะรอการผ่าตัดเย็บปิดผนังหน้าท้อง
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer
ประคองลำไส้ไม่ให้พับตกลงมาข้างๆตัวได้ (เสริมกับชั้นของ rollgauze)
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำเนื่องจากมีการสูญเสียน้ำ
การรักษาในระยะหลังผ่าตัด
ดูแลเด็กที่ได้รับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารตามแผนการรักษาเนื่องจากลำไส้ของเด็กที่เป็น gastroschisis
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominalcompartmentsyndrome
: ท้องอืดอย่างรุนแรง ปัสสาวะออกน้อยลง central venous pressure สูงขึ้น ความดันในช่อง
Abdominal compartment syndrome
การที่ความดันในช่องท้อง(Intra-abdominal pressure: IAP) เพิ่มสูงขึ้น > 20 mmHg ซึ่งท ำให้เกิดอวัยวะล้มเหลวตามมา
ACS ส่งผลกระทบกับผู้ปุวยหลายระบบ เช่น หายใจลำบาก, ความดันโลหิตต่ำลง, ไตวาย และเสียชีวิต
การดูแลเพื่อลดแรงดันในช่องท้อง
ผู้ปุวยที่มีความดันในช่องท้องสูง(>12ม.ม.ปรอท) การดูแลรักษาเบื้องต้นโดย
ให้ยาระงับปวดให้เหมาะสม
จัดท่าผู้ปุวยนอนราบ ศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและสำไส้ใหญ่
ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการทำงานของล
ฟอกไตเพื่อดึงน้ำออกจากร่างกาย
การใส่สายระบายในช่องท้อง (Percutaneous catheter drainage)
ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้น หรือความดันในช่องท้องสูงขึ้นผ่าตัดลดความดันในช่องท้อง
Hypospadias
การแบ่งความผิดปกติของรูเปิดท่อปัสสาวะ
Anterior or distal or mild
: รูเปิดท่อปัสสาวะ
มาเปิดทางด้านหน้ามีรูเปิดต่ำกว่าปกติเพียง เล็กน้อย คือเปิดที่บริเวณ glanular, coronal,
Middle or moderate
: รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางขององคชาต คือเปิด distal penile,midshaft, proximal penileมีความผิดปกติ
Posterior or proximal or severe:
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ที่ใต้องคชาต บริเวณpenoscrotal,scrotal, perineal เป็นความผิดปกติมาก
การผ่าตัดแก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
1.ผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว (one-stage repair)
เป็นการผ่าตัดแก้ไขให้องคชาต ยืดตรง (orthoplasty)ทำรูเปิดท่อปัสสาวะให้อยู่ที่ปลายองคชาตและใช้ผิวหนัง
2. ผ่าตัดแบบ 2 ขั้นตอน (two-staged repair)
ประกอบด้วย
ขั้นที่ 1. Orthoplasty
ผ่าตัดแก้ไขภาวะองคชาต โค้งงอ (penile curvature)โดยตัดเลาะเนื้อเยื่อที่ดึงรั้ง เพื่อให้องคชาตยืดตรง
ขั้นที่2. Urethroplasty
หลังผ่าตัด orthoplasty แล้ว 6 เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่อบริเวณที่ผ่าตัดมาแล้ว อ่อนนุ่ม
บรรณานกรรม:วิภารัตน์ ยมดิษฐ์. (2563).
การพยาบาลเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด. สืบค้นวันที่ 15 มิถุนายน 2563. จาก:
https://classroom.google.com/u/0/w/NzMzNjU4Njc4NDla/t/all
นางสาวดลยา แก้วเกร็ด 36/2 เลขที่11