Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล, นางสาวมันตรินี อุทัยชาติ เลขที่ 75…
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
๑.แนวคิดและหลักการบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
๑. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง(Deming)
วางแผน(Plan)
การปฏิบัติ(Do)
การตรวจสอบ(Check)
การปฏิบัติจริง(Act)
๒. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของจูแรน (Juran)
๑) การกำหนดเป้าหมายคุณภาพ
๒) การควบคุมคุณภาพ (Quality control)
๓) การปรับปรุงคุณภาพ (Quality improvement)
๓. การพัฒนาคุณภาพตามแนวคิดของครอสบี (Crosby)
๓) ทำได้ถูกกว่าเสมอ ถ้าหากทำให้ถูกตั้งแต่แรก
๔) ตัวชี้วัดผลงาน คือ ต้นทุนคุณภาพ
๒) ไม่มีปัญหาอะไรสำคัญเท่ากับปัญหาคุณภาพ
๕) มาตรฐานของผลงาน คือ ของเสียเป็นศูนย์
(theperformance standard is zero defects)
๑) คุณภาพ หมายถึง การทำตามมาตรฐาน ไม่ใช่ความโก้เก
๔. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน (Continuous quality improvement ,CQI)
๑) เน้นการตอบสนองต่อผู้รับผลงานเป็นสำคัญ
๒) เป็นการปรับปรุงวิธีการทำงานจากงานประจำ
๓) เป็นกระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล/การคิดสร้างสรรค์และการ มีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒.การประกันคุณภาพทางการพยาบาล(QA)และมาตรฐานทางการพยาบาล(Nursing standard)
ความหมาย : การประกันคุณภาพ หมายถึง การกระทำเพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาล สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพได้อย่างสม่ำเสมอ อย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง มีเครื่องมือในการประเมินอย่างถูกต้อง เชื่อถือได้และสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพต่อไปได้
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาล
๑. แนวคิดการประกันคุณภาพในยุคเดิม
๒. แนวคิดของการประกันคุณภาพการพยาบาลในช่วง ค.ศ. ๑๙๕๒ – ๑๙๙๒
๓. แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาลเน้นที่กระบวนการ
รูปแบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
รูปแบบที่ ๑. การประกันคุณภาพของโรแลนด์
รูปแบบที่ ๒. การประกันคุณภาพการพยาบาลขององค์การอนามัยโลก (๑๙๙๕)
รูปแบบที่ ๓ การประกันคุณภาพการพยาบาลของสมาคมพยาบาลอเมริกัน (American nurses association : ANA)
รูปแบบที่ ๔ การประกันคุณภาพการพยาบาลของคณะกรรมการร่วมเพื่อการรับรององค์การบริการสุขภาพ(The Joint Commission On ccreditation of Healthcare Organization : JCAHO)
ระบบการประกันคุณภาพ
๑. การประกันคุณภาพภายใน(Internal quality assurance)ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพและการประเมินคุณภาพ
๒.การประกันคุณภาพภายนอก (External quality assurance) ประกอบด้วยการตรวจสอบคุณภาพที่ผ่านกระบวนการประกันคุณภาพภายใน การประเมินคุณภาพ และการให้การรับรอง
องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
๑) การกำหนดมาตรฐานการพยาบาล(Nursing standard)
๒) การตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล(Nursing Audit)
๓) การพัฒนาคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพ(Quality improvement)
มาตรฐานคุณภาพบริการสุขภาพ
๑.มาตรฐานระดับสากล(Normative standards) แนวทางการกำหนดมาตรฐานจะอยู่ในระดับดีเลิศ ตามความคาดหวังที่เป็นอุดมคติซึ่งโดยทั่วไปมักจะถูกกำหนโดยองค์กรวิชาชีพ
๒.มาตรฐานระดับผู้เชี่ยวชาญ(Empirical standards) เนื้อหากำหนดเป็นมาตรฐานจะมาจากระดับผู้เชี่ยวชาญ ผู้มีความรู้ ความสามารถ
๓.ระบบบริหารสุขภาพ(HA,HNQA,ISO)
การพัฒนาคุณภาพบริการแบบเครือข่าย (Hospital Network Quality Audit: HNQA)
หลักการ Standardization ของ TQM
๑. Documentation การท าให้เป็นลายลักษณ์อักษรหลังจากมีเหตุการณ์หรือข้อบกพร่องขึ้นแล้วให้ทำการแก้ไขข้อบกพร่อง (Correction) ท าการแก้ไขสาเหตุข้อบกพร่อง (Corrective action) และท าการแก้ไขป้องกันสาเหตุของข้อบกพร่อง (Preventive action) เมื่อได้วิธีการที่เหมาะสมก็เอามาทำเป็นลายลักษณ์อักษร
๒. Training ฝึกอบรมสร้างความเข้าใจให้ปฏิบัติได้
๓. Motivation จูงใจให้ปฏิบัติตามเอกสารที่กำหนด
๔. Monitoring มีการติดตามผลดูเป็นระยะๆ ว่าเป็นไปตามที่ก าหนดไว้หรือไม
๕. Review มีการทบทวนเอกสารเป็นระยะๆ อย่างน้อยทุก ๑ ปี
องค์ประกอบของบริการได้คุณภาพ
๑. Product content in service
๒. Mechanize service
๓. Personalized service
ระบบมาตรฐาน(International Organization for Standardization:ISO)
ISO ๙๐๐๐ คือการจัดระบบการบริหารเพื่อประกันคุณภาพ ที่สามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบเอกสาร
ISO ๙๐๐๑ เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ
ISO ๙๐๐๒ มาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพาะการผลิต การติดตั้ง และการบริการ
ISO ๙๐๐๓ เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องการตรวจ และการทดสอบขั้นสุดท้าย
ISO ๙๐๐๔ เป็นแนวทางในการบริหารงานคุณภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นข้อแนะนำในการจัดการในระบบคุณภาพ ซึ่งจะมีการกำหนดย่อย ในแต่ละประเภทธุรกิจ
ISO ๑๔๐๐๐ เป็นระบบมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง
ISO ๑๘๐๐๐ มาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ISO ๒๖๐๐๐ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล(Hospital Accreditation: HA)
ประโยชน์จากการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)
ความเสี่ยงลดลงทำงานง่ายขึ้น บรรยากาศการทำงานดีขึ้น ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ดีขึ้น เป็นโอกาสที่ขายความฝันส่วนตัว ภูมิใจที่ทำงานในหน่วยงานที่มีระบบดี
หลักการของการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)
เปิดโอกาสให้มีความหลากหลายในวิธีปฏิบัติ กรอบแนวทางเน้นความต้องการร่วมของผู้ป่วยสำหรับทุกภาค ทุกระดับ การรับรองมีลักษณะพลวัต เป็นการรับรองว่าวันนี้ดีกว่าเมื่อวาน และกำลังก้าวไปในทิศทางที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์ของมาตรฐาน HA
เพื่อการประเมินหรือวัดคุณภาพ แต่เป็นมาตรฐานที่ใช้การพัฒนากระตุ้น ให้มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้มีการใช้กระบวนทัศน์ใหม่ใน การบริหารและพัฒนาคุณภาพ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และมีผลงานที่ดีขึ้นเป็นลำดับ
๔.การบริหารความเสี่ยง(Risk Management: RM)
คือการบริหารจัดการที่วางแผนสำหรับมองไปข้างหน้า
และมีกิจกรรมเพื่อป้องกันความล้มเหลวที่เกิดขึ้น
วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง
๑. เพื่อให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก เข้าใจและหาวิธีการจัดการที่เหมาะสมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
๒. เพื่อสร้างกรอบแนวทางในการดเนินงานเพื่อให้บริหารจัดการความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
๓. เพื่อเพิ่มคุณค่าให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร
๔. เพื่อให้มีระบบการติดตามผลการด าเนินการบริหารความเสี่ยงและเฝ้าระวังความเสี่ยงใหม่ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้
ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง
๑. ได้ปรับปรุงกระบวนการตัดสินใจ
๒. ได้ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานทั้งภายในองค์กรและกับภายนอกองค์กร
๓. ได้ปรับปรุงระบบการสื่อสารและการแบ่งปันความรู้ในองค์กร
๔. มีระบบรายงานการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมทั้งภายในองค์กรและการนำเสนอสู่ภายนอก
๕. มีการจัดสรรทรัพยากรไปบริหารความเสี่ยงในจุดที่ถูกต้อง
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
๑. การค้นหาความเสี่ยง(Risk indentification)
๒. การประเมินความเสี่ยง
๓. การวิเคราะห์ความเสี่ยง
๔. การจัดลำดับความเสี่ยง(Risk profile)
๕. การติดตามและการประเมินผล(Monitoring & Evaluation)
๕.การเชื่อมโยงการใช้ RM, QA , CQI และการวิเคราะห์ก้างปลา(Fish bone)
การบริหารความเสี่ยง (Risk management: RM)
เป็นการป้องกันสาเหตุของความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
การเชื่อมโยงคุณภาพมาจากการปฏิบัติเพื่อให้เกิดคุณภาพตามเกณฑ์ QA
การประกันคุณภาพ(Quality Assurance:QA)
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง(Continuous Quality Improvement: CQI)
ผังก้างปลา (Fish Bone Diagram)
ประโยชน์
๑. ช่วยให้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้อย่างมีเหตุผล เจาะลึกถึงสาเหตุรากเหง้า (root cause)
๒. ใช้ศึกษา ท าความเข้าใจ หรือท าความรู้จักกับกระบวนการอื่น ๆ เพราะว่าโดยส่วนใหญ่พนักงานจะรู้ปัญหาเฉพาะในพื้นที่ของตนเท่านั้น แต่เมื่อมีการ ท าผังก้างปลาแล้ว จะท าให้เราสามารถรู้กระบวนการของแผนกอื่นได้ง่ายขึ้น
๓. ใช้เป็นแนวทางในการระดมสมอง ซึ่งจะช่วยให้ทุกๆ คนให้ความสนใจในปัญหาของกลุ่มซึ่งแสดงไว้ที่หัวปลา
วิธีการสร้างแผนผังก้างปลา
๑.กำหนดประโยคปัญหาที่ต้องแก้ไขมาเขียนไว้ที่หัวปลา
๒.เขียนลูกศรชี้ที่หัวปลาแทนกระดูกสันหลังของปลา
๓.เขียนก้างใหญ่ให้ลูกศรวิ่งเข้าสู่กระดูกสันหลัง เพื่อระบุถึงกลุ่มใหญ่ของสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา
๔.เขียนก้างกลางแยกออกจากก้างใหญ่เพื่อแสดงสาเหตุของก้างใหญ่-เขียนก้างเล็กแยกออกจาก้างกลางเพื่อแสดงสาเหตุของก้างกลาง-เขียนก้างย่อยแยกออกจากก้างเล็กเพื่อแสดงสาเหตุของก้างเล็ก
๕.ระดมสมองหาสาเหตุของปัญหาโดยการตั้งคำถามทำไมๆๆๆๆ ซ้ำๆกัน ๕-๗ ครั้ง ในการเขียนก้างย่อยๆ พร้อมทั้งเขียนข้อความแสดงสาเหตุของปัญหาลงในก้างระดับต่างๆ ทำไปจนกระทั่งระบุถึงสาเหตุที่เป็นรากเหง้าของปัญหาได้ หรือจนกระทั่งไม่มีใครเสนอความคิดเห็นอีก จัดลำดับความสำคัญของสาเหตุ และใช้แนวทางการปรับปรุงที่จำเป็น
กลุ่มปัจจัย (Factors) ๔M ๑E
M Man คนงาน หรือพนักงาน หรือบุคลากร
M Machine เครื่องจักรหรืออุปกรณ์อ านวยความสะดวก
M Material วัตถุดิบหรืออะไหล่ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการ
M Method กระบวนการท างาน
E Environment อากาศ สถานที่ ความสว่าง และบรรยากาศการทำงาน
นางสาวมันตรินี อุทัยชาติ เลขที่ 75 รหัสนักศึกษา 603101076