Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ -…
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
1.Hepatitis
B
1.การวินิจฉัย
รายที่มารดาเป็นพาหะและมีการอักเสบของตับเรื้อรัง
Hepatitis B core antigen (HBcAg) ส่วนแกนกลางมีที่รูปร่างกลม ซึ่งจะตรวงไม่พบในเลือดหรือสารคัดหลั่งของร่งกาย แต่จะพบในนิวเคฉียสดับของสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ
Hepatitis B surface antigen (HBsAg)ส่วนที่เป็นเปลือกนอกของไวรัส สามารถแพร่กระจายเชื้อผ่านทางเลือด น้ำลาย น้ำตา ตารคัดหลั่งทางช่องคลอดน้ำอสุจิ น้ำคร่ำ ปัสสาวะ
HEPATiTiS
Hepatitis B e antigen (HBeAg): ส่วนประกอบย่อยที่เกิดจากกระบวนการผาผลาญแปรสภาพของHBCAgในกระแต่โลหิต พบได้ฉพาะบุดดลที่มี HBsAg เป็นบวกเท่านั้น
2.อาการและอาการแสดง
ในรายที่มีอาการรุนแรงมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง
3.ผลกระทบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
ตกเลือดก่อนคลลอด
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
4.แนวทางการรักษา
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติ การเจาะน้ำคร่ำ
หากปริมาณไวรัสมากกว่า 200,000 MU/mL. TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง GA 28-35 Wks.
ระยะหลังคลอด
TDF 300 mg.วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 Wks.หลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
HBIG (400 IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชม.หลังคลอด
ควรได้รับวัคซีนภายใน 7 วันและให้ซ้ำภายใน 1 เดือนและ 6 เดือน
ทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution
Exclusive breastfeeding หากไม่มีรอยแผล
5.บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
Hx.ประวัติ การได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
อาการ :ไข้เหนื่อยอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ตัวตาเหลือง
ส่งตรวจเลือด
ป้องกันการแพร่กระจาย
BF
คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจำปี
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
Universal Precaution
ทารก : Suctin ให้เร็ว หมด ทำความสะอาด
ติดตามความก้วหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
2.Rubella, German measles
1.Rubella virus
-การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปาก
–แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
–ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
–ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7วันก่อนผื่นขึ้นจนถึง 7วันหลังผื่นขึ้น
2.การวินิจฉัย
การซักประวัติกาสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผื่นขึ้นหรือภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
3.อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot
จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนู่น ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภาใน 3 วัน
4.ภาวะแทรกซ้อน
หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
5.การรักษาพยาบาล
ใน 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์
Therapeutic abortion
รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
เเนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนำให้รับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
3.Syphilis
1.Treponema
pallidum
เชื่อเข้าสู่ร่างกายทางรอยฉีกขาดของหนังช่องคลอด
แพร่กระจายผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง
มีการอักเสบของปลายหลอดเลือดเล็กๆ
เกิดการอุดตันของรูหลอดเลือด ผิวหนังขาดเลือดตายและเกิดแผล
แพร่ผ่านรกโดยตรงและขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
2.การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การตรวจ VDRL หรือ RPR
FTA-ABS(Fluorescent Treponemal
Antibody Absorption Test)
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
3.อาการและอาการแสดง
1.Primary syphilis
หลังรับเชื้อ 10-90 วัน แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
2.Secondary syphilis
ทั่วตัว ผ่ามือผ่าเท้า ไข้ปวด ตามข้อ ข้ออักเสบ ต่อ น้ำเหลืองโต ผมร่วง
3.Latent syphilis
ไม่แสดงอาการ
4.Tertiary or late syphilis
ทำลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจ
และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
5.ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
ทารกตาบอด
Congenital syphilis
ระยะแรก
พบตั้งแต่คลอด ถึง 1 ปี น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ผิวหนังฝ่ามือฝ่าเท้าพองและลอก น้ำมูกมากเสียงแหลม “wimberger ’s sign” ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้ง 2 ข้าง
ระยะหลัง
พบอายุมากกว่า 2 ปี แก้วตาอักเสบ (interstitial keratitis) ฟันหน้ามีรอยแหว่งเว้าคล้ายจอบ (Hutchinson ’s teeth) หูหนวก จมูกยุบ หน้าผากนูน กระดูกขาโค้งงอผิดรูป
6.การรักษา
1.รักษาระยะต้น
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mU IM ครั้งเดียว แบ่งฉีดสะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวด โดย ผสม 1% Lidocaine0.5-1 ml
2.การรักษาระยะปลาย
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mU IM สัปดาห์ ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวดโดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
7.การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายความสำคัญของการคัดกรองความเสี่ยงของโรคผลต่อทารกในครรภ์
ส่งคัดกรอง VDRLครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์หรือห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6 และ 12 เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำพาสามีมาตรวจคัดกรอง
ดูแลด้านจิตใจ
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเลือดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
ระยะหลังคลอด ระยะหลังคลอดสามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
แนะนำรับประทานยาและกลับมานะติดตามผลการรักษา
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
4.Genital herpes simplex infection
(โรคเริมที่อวัยวะเพศ)
1.การติดเชื้อ Herpes simplex virus
(HSV)
:check:HSV type 1 เกิดเริมที่ปาก
(Orolabial herpes infection)
:check: HSV type 2 เกิดโรคเริมที่อวัยวะเพศ และทวารหนัก (anogenital herpes infection)
2.อาการและอาการแสดง
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อย
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
3.ภาวะเเทรกซ้อน
ตาอักเสบ
ตุ่มใสๆ
ไข้
หนาวสั่น
ซึม
ตับ ม้ามโต
4.การวินิจฉัย
การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแต่จะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็งลักษณะตกขาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ culture โดยใช้ของเหลวที่ได้จากตุ่มใสที่แตกออกมาหรือการขูดเอาจากก้นแผล จะพบ multinucleated giant cell
เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzanck smear ขูดเนื้อเยื่อบริเวณก้นแผลและย้อมสี Wright หรือ Giemsa เพื่อดู multinucleated giant cells
5.การรักษา
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อแผลไม่สะอาด
กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งในช่องคลอด
6.การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25 - 1% วันละ 2-3 ครั้ง แนะนำเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ดูแลการให้ยาตามเวลาตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
5.Condyloma accuminata
and pregnancy (หูดหงอนไก่)
2.การวินิจฉัย
การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกายสังเกตเห็นรอยโรคซึ่งเป็นติ่งเนื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รอบทวารหนัก ปากช่องคลอด ซึ่งสามารถช่วยประเมินสภาพได้ค่อนข้างแน่ชัด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยทำ pap smear พบการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
1.หูดหงอนไก่เป็นโรคติดต่อทางเพสสัมพันธ์ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Human papilloma virus (HPV) ชนิดที่ทำให้เกิดหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศส่วนใหญ่เป็น type 6 และ 11
3.อาการและอาการแสดง
หูดขึ้นรอบๆทวารหนักและในทวารหนัก
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
คล้ายดอกกะหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
4.การรักษา
:<3:
จี้ด้วย trichloroacetic acid
จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
:red_flag:การคลอดสามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ยกเว้นโหดมีขนาดใหญ่
5.การพยาบาล
1 ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น
จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
2 แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
3 แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
4 เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
5การออกกำลังกายที่พอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชื้อซ้ำ
6.Acquired immune defiency syndrome (การติดเชื้อ HIV ในสตรีตั้งครรภ์)
1.การวินิจฉัย
การซักประวัติ เช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน อาการทางคลินิก
การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์ คือ การทดสอบที่เรียกว่า Enzyme–linked Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB) และ Immunofluorescent assay (IFA) ถ้าให้ผลบวกเป็นการแนะนำและผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์
“การตรวจพบปฏิกิริยาทางน ้าเหลืองต่อเชื้อ HIV (Human immunodeficiency Virus) เป็ นบวก”
2.อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก
การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย
ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า
500 - 200 cm3
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆ นานกว่า 2-3 เดือน
ปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วม
3.การติดต่อ
1.การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุด คือ การร่วมเพศทางทวารหนัก
2.จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission) โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับการรักษา ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 15- 25%
3.ทางกระแสเลือด จากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่มีเชื้อเอดส์ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
4.การรักษา
:star:
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
1.ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชั่วโมง หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียวไม่ว่าจะใชยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
3.ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergin เนื่องจากจะทำให้เกิด severe vasoconstriction ได้
:star:
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
1.ให้ยาหลังคลอดต่อทุกราย
-CD4 น้อยกว่า 500 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร
-คู่มีผลเลือดลบหรือไม่ทราบผลเลือด
-มีการติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค ไวรัสตับอักเสบบี
ไวรัสตับอักเสบซี
2 การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด AZT
ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชั่วโมง ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
5.การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร
อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา (แนวทางการให้ยา)
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่ว ทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
1.จัดให้อยู่ในห้องแยก
2.แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
3.งดให้นมบุตรเพราะทารกติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
4.ทารกหลังคลอดให้ NPV 2 mg/kg
ทันทีและให้ AZT2 mg/kg /day และติดตามการ
ติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
7. Zika fever (การติดเชื้อไวรัสซิก้า)
1.เกิดจากเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) อยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับไวรัสไข้เลือดออก ไวรัสไข้สมองอักเสบและไวรัสเวสต์ไนล์ "ยุงลายเป็นพาหะสำคัญของโรค"
2.อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา ปวดข้อ ปวดในกระบอกตา เยื่อบุตาอักเสบ
3.การตรวจวินิฉัย
การซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา สำหรับการตรวจหา IgM สามารถตรวจพบได้ภายใน 3 วันนับแต่แสดงอาการ การตรวจหาภ การตรวจหาภูมิต้านทาน (IgM) ด้วย วิธี ELISA หรือ Immunofluorescence หากพบว่าผลการตรวจเปเป็นลบแนะนำให้เก็บ Plasma ส่งตรวจซ้ำภายใน 3-4 สัปดาห์
วิธีการตรวจ DNA สามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR
ภายใน 1-3 วัน เมื่อเริ่มแสดงอาการ
การวินิจฉัยการติดเชื้อของทารกในครรภ์ สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่ง
ส่งตรวจ เช่น น้ำคร่่ำ เลือดจากสะดือหรือรก
4.ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ
ติดตาม U/S การเจริญเติบโต ของทารกทุก 4 สัปดาห์
การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง ครั้ง แรกเมื่อแรกเกิด และครั้งที่2 เมื่อ อายุ 24 ชั่วโมง
5.การพยาบาล
ยังไม่มียารักษาโรคไข้ซิก้าโดยตรง
พักผ่อนให้เพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
:red_cross:ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
:pencil2:จัดทำโดย
นางสาวชวนันท์ รูปคุ้ม เลขที่ 18