Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Assessment Model…
ระบบการประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ (State Enterprise Assessment Model : SE-AM)
ที่มา
ปี 2538
เริ่มนำระบบประเมินผล มาใช้วัดประสิทธิภาพการดำเนินงาของรัฐิสาหกิจ ตั้งแต่ปี 2539
ปี 2551
พัฒนาเกณฑ์การประเมินผล กำหนดให้มีการประเมินผลด้านการบริหารจัดการองค์กรในด้านต่างๆ (SEPA)
ปี 2561
ปรับปรุงระบบประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ
นำระบบประเมินผล ของ สคร. ที่ใช้เดิม 2 ระบบ คือ ระบบการบริหารจัดการองค์กร และระบบประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ (ระบบ SEPA) มาบูรณาการร่วมกันให้เหลือเป็น 1 ระบบ เรียกว่าระบบ State Enterprise Assessment Model (ระบบ SE-AM)
เริ่มใช้ปี 2563
ระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน 2 ปี ปี 2565 เป็นต้นไป จะเป็นคะแนนตามที่ประเมิน Enablers จริง
กำหนดกรอบแนวทางการประเมินผลเป็น 2 ส่วน
1 ส่วนผลลัพธ์ (Key Performance Areas) (60+-15%)
การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายรัฐบาล
แผนยุทธศาสตร์ของรัฐวิสาหกิจ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ (Key Results)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ
แผนงานโครงการที่สำคัญสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลสัมฤทธิ์
ส่วน Core Business Enablers (40+-15%) ประกอบด้วย 8 ด้าน
ส่วนเพิ่มจาก SEPA เดิม
1 การกำกับดูแลที่ดี และการนำองค์กร
การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และลูกค้า
การจัดการความรู้และนวัตกรรม
1 การกำกับดูแลที่ดี และการนำองค์กร (CG)
2 การวา่งแผนเชิงกลยุทธ์ (SP)
3 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (RM&IC)
4 การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า (SCM)
5 การพัฒนาเทคโนโลยดีจิทัล (Digital)
6 การบริหารทุนมนุษย์ (HCM)
7 การจัดการความรู้และนวัตกรรม (KM&IM)
8 การตรวจสอบภายใน (IA)
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจสามารถตอบสนองกับสภาพแวดล้อมในการดำเนินภารกิจ/ธุรกิจ การแข่งขัน ความต้องการของผู้ใช้บริการ และบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป เช่น เทคโนโลยี นโยบายไทยแลนด์ 4.0
การประเมิน Enablers แบ่งเป็น 5 ระดับ
ระดับ 1 การมีนโยบาย/ระบบหลักการ
ระบุชัดเจนว่า ต้องทำอะไร
ระดับ 2 นโยบาย/ระบบหลักการทำได้อย่างมีคุณภาพ
ระบุว่าคุณภาพที่คาดหวังนั้น ต้องทำอะไร อย่างไร
ระดับ 3 การทำอย่างทั่วถึง/สม่ำเสมอ และได้ผลลัพธ์ตามที่กำหนด
ระดับ 4 มีการเชื่อมโยงกับหัวข้ออื่นที่เกี่ยวข้อง
ระดับ 5 ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ใช้หลัก ADIL (Approch Deploy Integration Learning)
Enablers 8 ด้าน
ด้านที่ 1 การกำกับดูแลที่ดีและการนำองค์กร (Corporate Governance & Leadership : CG)
มุ่งเน้น
ประเมินบทบาทการกำกับดูแลและการนำองค์กรของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ
ขับเคลื่อนให้ฝ่ายจัดการปฏิบัติงานบรรลุผลสำเร็จตามภารกิจหน้าที่
สะท้อน
มิติกระบวนการ
ประสิทธิภาพ
คุณภาพ
มาตรฐาน
มิติด้านผลลัพธ์
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนให้องค์กร
วัตถุประสงค์การประเมิน
คกก. ผู้บริหาร พนักงาน เกิดความเข้าใจ แสดงความรับผิดชอบ นำไปปฏิบัติ
รส. มีระบบ CG เพียงพอ ได้มาตรฐาน ตอบสนอง ผู้ถือหุ้นภาครัฐ
รส. มีระบบ CSR in Process สอดคล้องกับมาตรฐาน
รส. เกิดความยั่งยืนจากการพัฒนากระบวนการ การบริหารจัดการและผลลัพธ์อย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ์การเประเมิน
1 บทบาทของภาครัฐ
2 บทบาทของรัฐวิสาหกิจเพื่อการตลาดที่เป็นธรรม
3 สิทธิและความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น
4 บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย
5 การเปิดเผยข้อมูล
6 คณะกรรมการ
7 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
8 จรรยาบรรณ
9 ความยั่งยืนและนวัตกรรม
10 การติดตามผลการดำเนินงาน
ด้านที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning : SP)
แนวทาง
เตรียมการสำหรับอนาคต กำหนดยุทธศาสตร์อาจใช้การพยากรณ์ การคาดคะเน สร้างสถานการณ์จำลอง ให้เห็นภาพในอนาคต เพื่อการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากร
วัตถุประสงค์การประเมิน
รส. มีกระบวนการวางยุุทธศาสตร์/การวางแผนกลยุทธ์เพื่อกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์กร
รส. มีการวิเคราะห์ความท้าทาย ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ ความสามารถพิเศษองค์กร เพื่อนำมากำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
รส. กำหนดยุทธศาสตร์ระดับองค์กรเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันและบรรลุเป้าหมาย
รส. กำหนดขั้นตอนในการจัดทำแผนปฏิบัติการ ระยะเวลา ทรัพยากร ให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย กำหนดตัวชี้วัด
หลักเกณฑ์การประเมิน
1 กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์
1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
2) การวิเคราะห์ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์
3) การกำหนดวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
4) การกำหนดกลยุทธ์
2 กระบวนการถ่ายทอดกลยุทธ์เพื่อนำไปปฏิบัติ
5) การจัดทำแผนปฏิบัติการ
6) กระบวนการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ
7) กระบวนการติดตามผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติการและปรับเปลี่ยนแผนงาน
ด้านที่ 3 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน (Risk Management & Internal Control : RM & IC)
เพื่อส่งเสริมให้ รส. มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่ดี มีประสิทธิภาพ สร้างวัฒนธรรมความเสี่ยง ต้องการมุ่งเน้นให้เกิดบูรณาการระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
วัตถุประสงค์การประเมิน
เพื่อส่งเสริมให้ รส. ตอบสนองกับสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ การแข่งขัน ความต้องการของผู้ใช้บริการ และบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป
นโยบาย Thailand 4.0 ที่ต้องการขับเคลื่อนด้วยความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม RM&IC เป็นกลไกที่สร้างการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้
หลักเกณฑ์การประเิมน
ธรรมาภิบาลและวัฒนธรรมองค์กร
การกำหนดยุทธศาสตร์และวัตถุประสงค์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
การทบทวนการบริหารความเสี่ยง
ข้อมูลสารสนเทศการสื่อสารและการรายงานผล
ด้านที่ 4 การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า (Stakeholder & Customer : SCM)
มีเป้าหมายให้ รส.มีการจัดการความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้าอย่างเป็นระบบ
วัตถุประสงค์การประเมิน
เพื่่อศึกษาและเรียนรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า
เพื่อให้ รส. มีระบบการบริหารจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้าที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
หลักเกณฑ์การประเมิน
Module 1 การมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ยุทธศาสตร์ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
วัตถุประสงค์ ขอบเขต และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กระบวนการสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Module 2 การบริหารจัดการลูกค้า
ยุทธศาสตร์ด้านลูกค้าและตลาด
การจำแนกลูกค้า
การรับฟังลูกค้า
การพัฒนาและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการ
การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้า
ด้านที่ 5 การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology : DT)
เน้นประเมินการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกที่นำเทคโนโลยีในการปรับปรุงการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
รส. มีการกำหนดกรอบทิศทางการกำกับดูแล
รส. มีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ทั่วทั้งองค์กร
รส. มีการบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูล ดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
รส. มีการบริหารจัดการข้อมูลทุกขั้นตอน
รส. มีกระบวนการหรือการกระทำทั้งหมดที่จำเป็นเพื่อให้องค์กรปราศจากความเสี่ยง
รส. มีกระบวนการให้ธุรกิจดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง
รส. มีกระบวนการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรด้านเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนวัตถุประสงค์ขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักเกณฑ์การประเมิน
การกำกับดูแลด้าน DT และแผนปฏิบัติการดิจิทัลขององค์กร
การนำ DT มาปรับใช้กับทุกส่วนขององค์กร
การบูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลและการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
การกำกับดูแลข้อมูลและการบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ขององค์กร
การบริหารความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ
การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจและความพร้อมใช้ของระบบ
การดำเนินการด้านการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม
ด้านที่ 6 การบริหารทุนมนุษย์ (Human Capital Management : HCM)
เน้น
การประเมิน HCM เป็นการประเมินกระบวนการ(Process) และผลลัพธ์ (Result)
รส. ต้องนำยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนรัฐวิสาหกิจ สคร.ด้านบุคลากร มาตรฐาน มาปรับให้เหมาะสม
รส.ต้องมุ่งเน้นการดำเนินงาน การสอบทาน ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ
วัตถุประสงค์
คกก. ผู้บริหาร บุคลากร มีความตระหนักและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารทุนมนุษย์ที่ดี นำไปพัฒนาระบบงาน HCM เพื่อสร้าง Equity และ Appropriate Differnce ในการสนับสนุนให้บุคลากรได้สร้างคุณค่าให้แก่ตนเองและองค์กร
รส. มีแนวทางในการบริหารทุนมนุษย์ขององค์กรสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้าน HR โลก
หลักเกณฑ์
ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ด้านบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์
การบริหารทุนมนุษย์
การพัฒนาทุนมนุษย์
สภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการบริหารและพัฒนาทุนมนุษย์
ด้านที่ 7 การจัดการความรู้และนวัตกรรม (Knowledge Management & Innovation Management : KM & IM)
KM
เกณฑ์การประเมิน
การนำองค์กร
การวางแผนและทรัพยากรสนับสนุน
บุคลากร
กระบวนการจัดการความรู้
กระบวนการปฏิบัติงาน
ผลลัพธของการจัดการความรู้
IM
หลักเกณฑ์
การนำองค์กรสู่การจัดการนวัตกรรม
ยุทธศาตาร์ด้านนวัตกรรม
นวัตกรรมเพื่อมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด
ความรู้สู่การสร้างนวัตกรรม
วัฒนธรรมเพื่อมุ่งเน้นการสร้างนวัตกรรม
กระบวนการนวัตกรรม
การจัดสรรทรัพยากรด้านนวัตกรรม
ผลลัพธ์ด้านนวัตกรรม
นวัตกรรมจำเป็นต้องถูกพัฒนาเชื่อมโยง
1 นวัตกรรมต้องเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
2 นวัตกรรมต้องมีความใหม่ (Newness)
3 นวัตกรรมต้องสร้างคุณค่าใหม่ (Value)
นวัตกรรม หมายถึง การใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาหรือประดิษฐ์สิ่งใหม่ ต้องเพิ่มมูลค่า
ด้านที่ 8 การตรวจสอบภายใน (Internal Audit : IA)
ถือเป็นเครื่องมือสำคัญของฝ่ายบริหาร ในการทำหน้าที่ให้ความเชื่อมั่น (Assurance service) และให้คำปรึกษา (Consulting service) โดการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสี่ยง การกำกับดูแลกิจการ เพื่อเพิ่มคุณค่า
กรอบหลักการ/แนวคิด
หลักเกณฑ์ประเมินการตรวจสอบภายใน เกิดจากการประยุกต์หลักการและแนวคิดการกำกับดูแลที่ดีและการนำองค์กรของทั้งภาครัฐและเอกชน สรุปดังนี้
เกณฑ์ประเมินผล ด้าน IA = 1. มาตรฐาน/แนวปฏิบัติที่ดี + 2. เกณฑ์การประเมินผลในปัจจุบัน + แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์การประเมินการตรวจสอบภายใน
1 มุ่งเน้นบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ ทั้ง 3 องค์ประกอบ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ หน่วยตรวจสอบภายใน และหน่วยรับตรวจ
รัฐวิสาหกิจมีระบบการตรวจสอบภายในที่ดีสอดคล้องกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบและหน่วยตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ.2555 และเทียบเท่ามาตรฐานสากล
เสริมสร้างให้รัฐวิสาหกิจมีระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง และการตรวจสอบภายในที่ดี เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด
หลักเกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน 4 ด้าน
คณะกรรมการตรวจสอบ (15%)
หน่วยตรวจสอบภายในด้านคุณสมบัติ (15%)
หน่วยตรวจสอบภายในด้านการปฏิบัติงานและผลงาน (65%)
หน่วยรับตรวจความรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจ (5%)
ระบบประเมินผลเดิม
ระบบบริหารจัดการองค์กร (ข้อ 3)
การบริหารจัดการองค์กร
3.1 บทบาทของคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจ
3.2 การบริหารความเสี่ยง
3.3 การควบคุมภายใน
3.5 การบริหารจัดการสารสนเทศ
3.6 การบริหารทรัพยากรบุคคล
3.4 การตรวจสอบภายใน
ระบบ SEPA
กระบวนการ/ระบบ (Process)
หมวด 1 การนำองค์กร
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้าและการตลาด
หมวด 4 การวัดวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
ข้อดี-ข้อเสีย
ข้อดี
ทั้งระบบประเมินบริหารจัดการ (ข้อ 3) และระบบ SEPA มีความสมดุลในการวัดทั้งผลลัพธ์ และกระบวนการ
ระบบประเมินบริหารจัดการ (ข้อ 3)
มีความชัดเจน รัฐวิสาหกิจรู้ว่าต้องทำอะไร
มีการประเมินการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และบทบาทคณะกรรมการรัฐวิสาหกิจที่ชัดเจน
ระบบ SEPA
มีการนำการบูรณาการ (Integration) และการเรียนรู้ (Learning) เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินในแต่ละด้านของกระบวนการ (ADLI) ที่ชัดเจน
มีการประเมินด้านลูกค้าและการตลาด (หมวด 3)
ข้อเสีย
ระบบประเมินบริหารจัดการ (ข้อ 3)
การบูรณาการและการเรียนรู้ของการบริหารจัดการแต่ละข้อไม่ชัดเจน
ขาดการประเมินด้านลูกค้าและการตลาด
ระบบ SEPA
การประเมินกระบวนการใช้ดุลยพินิจสูง
ภาษาเกณฑ์ยากต่อการเข้าใจของคนทั่วไป
3 เกณฑ์อยู่ในรูปคำถาม รัฐวิสาหกิจไม่รู้ว่าต้องทำอย่างไร
การคำนวณคะแนนประเมินผล SE-AM ปี 2563
คะแนนประเมิน ปี 63 + Handicap ((คะแนน SEPA ปี 62 - Baseline)*0.8)