Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด, นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์…
การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการแต่กำเนิด
วัตถุประสงค์
บอกสาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้ทารกมีความพิการแต่กำเนิดได้
อธิบายอาการ อาการแสดง / การวินิจฉัยทารกที่เป็นได้
อธิบายวิธีการรักษา
ระบุปัญหาและวางแผนการพยาบาลเด็ก
ความพิการแต่กำเนิด
major anomalies คือความผิดปกติที่ทำให้การทำงานของอวัยวะนั้นเสียไป พบได้ประมาณ ร้อยละ 2-3 ของทารกเกิดมีชีพ จำเป็นต้องรับการรักษา
minoranomalies คือความผิดปกติที่ไม่มีผลให้การทำงานของอวัยวะเสียไปพบได้น้อยกว่าร้อยละ 5 ของประชากร
การจำแนกความพิการแต่กำเนิดตามกลไกการเกิด
Malformation คือลักษณะของอวัยวะที่ผิดรูปร่างไป เกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิด
Deformation เกิดจากการที่มีแรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะผิดรูปไปในระหว่างการเจริญพัฒนาของอวัยวะนั้น
Disruption คือ ภาวะที่โครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติจากสาเหตุภายนอกรบกวนกระบวนการ เจริญพัฒนาอวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
Dysplasia เป็นความผิดปกติในระดับเซลล์ของเนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย
สาเหตุของความพิการแต่กำเนิด
พันธุกรรม
ในกรณีที่บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ในครอบครัวเป็นโรคความพิการแต่กำเนิด
บุตรและหลานมีโอกาสเกิดมาพิการได้
ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะจากมารดาในระหว่างตั้งครรภ์
โรคติดเชื้อ
ขาดอาหาร ขาดวิตามิน
มารดามีอายุมากเกินไป
มารดากินยาหรือเสพสารเสพติด
มารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งแวดล้อม
รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีแกมม่า รวมทั้งสารกัมมันตรังสีทางการแพทย์
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ หรือ ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
การพยาบาลเด็ก/ทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด
Omphalocele/ Gastroschisis
การดูแลเพื่อลดแรงดันในช่องท้อง
จัดท่าผู้ป่วยนอนราบ ศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา
ให้ยาระงับปวดให้เหมาะสม
ผู้ป่วยที่มีความดันในช่องท้องสูง(>12ม.ม.ปรอท) การดูแลรักษาเบื้องต้นโดย
ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการทำงานของลำไส้
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารและสำไส้ใหญ่
ฟอกไตเพื่อดึงน้้ำออกจากร่างกาย
การใส่สายระบายในช่องท้อง(Percutaneous catheter drainage)
การรักษา
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรก (primary closure)
เป็นการปิดหน้าท้องตั้งแต่ระยะแรกโดย ดันลำไส้กลับเข้าไปในช่องท้อง แล้วเย็บปิดผนังหน้าท้อง แล้วเย็บปิดผนังหน้าท้องโดยและเย็บปิดfascia
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน (staged closure)
ในกรณีดันลำไส้กลับเข้าในช่องท้องทำให้ผนังหน้าท้องตึง ไม่สามารถเย็บปิด fascia ได้
จุดประสงค์
เพื่อปิดผนังหน้าท้อง ลดภาวะแทรกซ้อน ให้ทารกหายเร็วที่สุด
การวินิจฉัย/อาการ/อาการแสดง
ตรวจultrasound อายุครรภ์ 10 สัปดาห์
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
การที่ไม่มีผนังหน้าท้องนี้ ทำห้ลำไส้ปนเปื้อนความสกปรก จากภายนอก ทำให้มีอาการติดเชื้อ
อาจพบความผิดปกติอื่นร่วมด้วยส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องของลำไส้
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น จากน้ำระเหยจากผิวของลำไส้ ทำให้และสูญเสียน้ำ
การพยาบาล
การพยาบาลในขณะรอการผ่าตัดเย็บปิดผนังหน้าท้อง
ประคองลำไส้ไม่ให้พับตกลงมาข้างๆตัวได้ (เสริมกับชั้นของ roll gauze)
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer หรือไว้ใน incubator
ดูแลให้ได้รับสารน้้ำทางหลอดเลือดดำเนื่องจากมีการสูญเสียน้ำจากลำไส้ที่ไม่มีผนังหุ้ม
การรักษาในระยะหลังผ่าตัด
ดูแลเด็กที่ได้รับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารตามแผนการรักษาเนื่องจากลำไส้ของเด็กที่เป็น gastroschisisนี้มีการอักเสบ บวม และเกาะติดกันเป็นกระจุก
ติดตามการทำงานของลำไส้ ฟัง bowl sound
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominal compartment syndrome
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
keep warm โดยอาจเป็น radiant warmer หรือไว้ใน incubator
ระวังการ contaminate
พยายามปั้นประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้ง โดยการใช้ผ้า gauze ม้วนพันประคองไว้ไม่ให้ล้มพับ
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้ systemic antibiotics ตามแผนการรักษา
Abdominal compartment syndrome
ท้องอืดอย่างรุนแรง ปัสสาวะออกน้อยลง central venous pressure สูงขึ้น ความดันในช่องอกสูงขึ้น
การที่ความดันในช่องท้อง(Intra-abdominal pressure: IAP) เพิ่มสูงขึ้น > 20 mmHg ซึ่งทำให้เกิดอวัยวะล้มเหลวตามมา
ACS ส่งผลกระทบกับผู้ป่วยหลายระบบ
หายใจลำบาก
ความดันโลหิตต่ำลง
ไตวาย และ อื่นๆ
gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไส้เลื่อนสะดือแตกตอน
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
เด็กดูแลในระยะดันลำไส้กลับในช่องท้องเด็กต้องจัดท่านอนอย่างไร เพราะเหตุใด
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลําไส้ไม่สะดวก
3.การฟัง bowl sound หลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
ติดตามการทํางานของลําไส้
Gastroschisis กับ Omphalocele แตกต่างกันอย่างไร
Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ , gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก ต้องระวังภาวะใด มีอาการและอาการแสดงอย่างไร
การเกิดAbdominal compartment syndrom
อาการ หายใจลำบาก ความดันโลหิตต่ำลง ไตวาย อื่นๆ
Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้ช่องท้องไม่ปิด
หลอดดอาหารตีบ (Esophageal stenosis)
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้สารอาหาร นม น้ำทางGastrostomy tube
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบหายใจลำบากหรือหยุหายใจเนื่องจากสำลักน้ำลายหรือน้ำย่อยเข้าหลอดลม
จัดท่านอนที่เหมาะสม
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
0n NG tube ต่อ Continuous suction
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลหลังผ่าตัด
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและแผล Gastrostomy
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
สังเกตการติดเชื้อ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ทําแผลอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
ตรวจสอบการทำงานของ ICD
ระวังสายหัก พับงอ / นวดคลึงสสายบ่อยๆ
บันทึก ลักษณะ สี จำนวนของ discharge
จัดท่านอนศีรษะสูง
การรักษา
ระยะแรก
Gastrostomy
ระยะสอง
Thoracotomy and division of the fistulawith Esophageal anastomosis
Esophagogram
Try oral feeding
Off Gastrostomy tube
อาการและอาการแสดงของโรค
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
อาจพบอากาศในกระเพาะอาหาร
ผู้ป่วยอาจตายเนื่องจากขาดอาหาร น้ำเกลือแร่ และการสำลัก
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
อาการอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารมีรูรั่วคืออะไร
เอาอาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ พบอากาศในกระเพาะอาหาร
การให้นม TE fistula ทำอย่างไร
ดูแลให้สารอาหาร นม น้ำทางGastrostomy tube
อาการอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารตีบคืออะไร
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก
การดูแล Gastrostomy ทำอย่างไร
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ทําแผลอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง, สังเกตอาการติดเชื้อ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
รูเปิดท่อ ปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ (hypospadias)
การรักษา
การผ่าตัดแก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
ผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว (one-stage repair)
เป็นการผ่าตัดแก้ไขให้องคชาต ยืดตรง (orthoplasty)
พร้อมกับการตกแต่งท่อปัสสาวะ(urethroplasty) ทำรูเปิดท่อปัสสาวะให้อยู่ที่ปลายขององคชาต
ผ่าตัดแบบ 2 ขั้นตอน (two-staged repair)
ขั้นที่ 1. Orthoplasty ผ่าตัดแก้ไขภาวะองคชาต โค้งงอ (penile curvature)
ขั้นที่ 2. Urethroplasty หลังผ่าตัด orthoplasty แล้ว 6 เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่อบริเวณที่ผ่าตัดมาแล้ว อ่อนนุ่ม จึงกลับมาท าผ่าตัดในขั้นตอนของการตกแต่ง
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
เลือดออก
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ/ท่อปัสสาวะบริเวณแผลเย็บที่สร้างท่อปัสสาวะใหม่
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะ เก่ากับท่อปัสสาวะที่สร้างใหม่
องคชาตยังโค้งงอ แก้ไขได้ด้วยการผ่าตัด
เกิดการติดเชื้อ
เด็กที่มีรูเปิดท่อปัสสาวะต่ำกว่าปกติ เพียงเล็กน้อยไม่จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อธิบายขั้นตอนการเตรียมการก่อนผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวล
ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
การปวดหลังผ่าตัด
การได้ รับยาระงับความรู้สึก
ผลของการผ่าตัด
ความรู้สึกเด็กที่ต้องพบกับสิ่ง แปลกใหม่ หลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดให้เด็กนอนในท่าสบาย
ประเมินบริเวณสาย cystostomy ไม่ให้เกิด การติดเชื้อ
ประเมินความปวดของเด็กให้ยาแก้ปวดตาม แผนการรักษาของแพทย์
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อตามแผนการ รักษาอย่างเคร่งครัด
ยึดสายที่ต่อจากuretra หรือสาย cystostomyให้อยู่บริเวณหน้าท้องหรือต้นขา
ใช้เทคนิคปลอดเชื้อในการทำแผลและการ เทปัสสาวะออกจากถุงปัสสาวะ
ให้บิดามารดา/ผู้ปกครองอยู่ดูแลเด็กอย่าง ใกล้ชิด อธิบายให้เข้าใจถึงสภาพเด็กที่มีแผลผ่าตัด
การแบ่งความผิดปกติของรูเปิดท่อปัสสาวะ
Middle or moderate: รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางขององคชาต
Posterior or proximal or severe: รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ที่ใต้องคชาต
Anterior or distal or mild: รูเปิดท่อปัสสาวะมาเปิดทางด้านหน้า หรือ บริเวณส่วนปลายขององคชาต มีรูเปิดต่ำกว่าปกติเพียง เล็กน้อย
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
บิดามารดา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็ก ดื่มน้ำมากๆทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่ายน้ำหรือเล่นกิจกรรมที่รุนแรง
อธิบายให้เด็ก บิดามารดา/ผู้ปกครองเข้าใจ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ภายหลังการเอาสายสวนปัสสาวะออก ให้สังเกต ปริมาณปัสสาวะ ลักษณะการถ่ายปัสสาวะเป็นลำพุ่งดี หรือไม่
อธิบายให้เด็ก บิดามารดา/ผู้ปกครองเข้าใจ ถึงความสำคัญในการมาพบแพทย์ตามนัดหรือมาก่อน นัดหากมีความผิดปกติเกิดขึ้น
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทำความสะอาด
ทำความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่ายอุจจาระ ทุกครั้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำและสาธิตให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง ทราบวิธีการดูแลความสะอาดองคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ
ผลกระทบ
องคชาตคดงอเมื่อมีการแข็งตัว ถ้างอมากอาจทําให้ร่วมเพศ ไม่ได้ในอนาคต
องคชาตดูแตกต่างจากปกติทําใหเ้ด็กสูญเสียความมั่นใจ
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลําไปด้านหน้าแต่กลับไหลไปตามถุงอัณฑะหรือด้านหน้าของต้นขา
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
การรักษา hypospadia โดยการผ่าตัดควรทำเมื่อใด เพราะเหตุใด
เวลาที่เหมาะในการทําผ่าตัดจะอยู่ในช่วง อายุ6-18 เดือน แต่ไม่ควรเกิน 2 ปี เนื่องจากเด็กเริ่มมีการเรียนรู้ทางเพศ
หากไม่ได้รับการแก้ไขอาจจะมีผลต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจ
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง
เลือดออก ,การการติดเชื้อ
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ/ท่อปัสสาวะบริเวณแผลเย็บที่สร้างท่อปัสสาวะใหม่
องคชาตยังโค้งงอ แก้ไขได้ด้วยการผ่าตัด
คำแนะนำในการดูแลหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร
บิดามารดา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็ก ดื่มน้ำมากๆทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่ายน้ำหรือเล่นกิจกรรมที่รุนแรง
แนะนำและสาธิตให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง ทราบวิธีการดูแลความสะอาดองคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ
อธิบายให้เด็ก บิดามารดา/ผู้ปกครองเข้าใจ ถึงความสำคัญในการมาพบแพทย์ตามนัดหรือมาก่อน
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านบน (epispadias)
เป็นความผิดปกติที่รูเปิดท่อปัสสวะไปเปิดที่ด้านบนขององคชาต อาจพบร่วมกับความผิดปกติอื่นๆ
อัตราการเกิด 1 ใน 300 ในทารกเพศชาย
เด็กที่มีความผิดปกติแต่กำเนิดของรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ (hypospadias) ทำให้เกิดปัญหาทั้งสภาพร่างกายและจิตใจ
Anorectal malformation
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง
5.แน่นท้อง ท้องอืด ปวดเบ่งอุจจาระ
3.ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย อืดอัด ไม่สบายเนื้อสบายตัว
ุ6. ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจรังสีวินิจฉัย X ray เพื่อประเมินระดับลำไส้ตรง
ultrasound เพื่อตรวจการไหลเวียนและดูอวัยวะภายใน
CT scan ตรวจกระดูก กล้ามเนื้อ อวัยวะภายใน
MRI ตรวจความผิดปกติร่วมของไขสันหลัง
ชนิดของความผิดปกติ
Anal stenosis รูทวารหนักตีบแคบ
Imperforate anal membrane มีเยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่ แบ่งเป็น
Low type
Intermediate type
High type
Rectal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
การรักษา
เป้าหมายการรักษาพยาบาล เพื่อ ผู้ป่วยสามารถถ่ายอุจจาระได้ มีความรู้สึกอยากถ่ายอุจจาระ และกลั้นอุจจาระได้
ความผิดปกติ low type มีการรักษา 3 วิธี
การถ่างขยายทวารหนัก โดยใช้ hegar metal dilators
การผ่าตัด anal membrane
การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก (anoplasty)
ความผิดปกติ intermediate และ high
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระออก (colostomy)
การผ่าตัดตบแต่งทวาร (anoplasty)
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
พยาธิสรีรภาพ
ทารกมีอาการท้องผูก ,ถ่ายอุจจาระลำบาก หรือไม่ถ่ายอุจจาระ
ทารกเพศชายมีอาการถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะ
ทารกเพศหญิงถ่ายขี้เทาออกทางท่อปัสสาวะหรือทางช่องคลอด
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
สอนการดูแลในการถ่างขยายรูทวารหนัก
แนะนำให้บิดามารดาให้อาหารตามวัยของเด็กที่มีประโยชน์มีกากใยสูง
ให้ความรู้บิดามารดาเกี่ยวกับการดำเนินของโรค
การพยาบาลการพยาบาลหลังผ่าตัดเปิด colostomy
การดูแล colostomy
หลังผ่าตัดสัปดาห์แรก รูเปิดยังไม่หาย ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล
เด็กที่มีถุงรองรับอุจจาระทางทวารเทียม เลือกขนาดของปากถุง ให้ครอบปิดกระชับพอดีกับขนาดทวารเทียม ไม่แน่นเกินไป
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณอุจจาระในถุง 1⁄4-1/3 ของถุง
กรณีมีการรั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ และสังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชม.
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม ถ้ามีการอักเสบ รอยถลอกรายงานแพทย์
การดูแลหลังผ่าตัด
สังเกตภาวะแทรกซ้อนของทวารเทียม เช่น เลือดออก ลำไส้ยื่นออกมา
สังเกตและบันทึกอุจจาระ เช่น ท้องผูก ท้องเสีย
แนะนำการมาตรวจตามนัด
แนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง แคลอรีสูง มีกากใยมาก หลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้มีแก๊ส
การพยาบาลระยะก่อนและหลังผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก (anoplasty)
บิดามารดาวิตกกังวลเรื่องความผิดปกติ และต้องได้รับการรักษาเป็นเวลานานหลายขั้นตอน
เสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดทวารหนัก
ทำความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัดรูทวารหนัก 8-10 วันตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด 3-4 วันหลังถอดสายสวนปัสสาวะ ให้แช่ก้นด้วยน้ าอุ่นกระตุ้นการไหลเวียนและลดการอักเสบ
ดูแลความสะอาดผิวหนังรอบๆทวารหนักด้วยน้ำ
สังเกตการติดเชื้อ ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
บิดา มารดา ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลแผลผ่าตัดบริเวณทวารหนัก
ให้คำแนะนำระยะหลังผ่าตัด 7-10 วันไม่ให้นอนกางขา นั่ง
ให้ความรู้การถ่างขยายทวารหนักและประเมินความรู้
แนะนำให้สังเกต ตำแหน่งการถ่ายอุจจาระ การฝึกขับถ่ายอุจจาระเมื่ออายุ 18-24 เดือน โดยนั่งกระโถนเช้า เย็น
ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การถ่างขยายรูทวารหนักสม๋ำเสมอ แนะนำใช้เทียนไขเหลาเท่าขนาด hegarถ่างขยาย
สอนทำความสะอาดเทียนไข ทวารหนัก
ให้ความรู้ป้องกันท้องผูก ให้อาหารมีกากใย ให้ยาระบาย
กรณีถ่ายอุจจาระเหลว ให้ยาที่ทำให้อุจจาระเป็นก้อน
สังเกตการตีบแคบของทวารหนัก
ฝึกขับถ่าย และมาตรวจตามนัด
อุบัติการณ์
เกิดขึ้นในอัตราส่วน 1 ใน 4000 ของเด็กเกิดมีชีวิตทั้งหมด
เกิดเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง
ความหมาย
เป็นความพิการแต่กำเนิดที่ไม่มีรูทวารหนักเปิดให้อุจจาระออกจากร่างกายได้(imperforate anus)
มีรูเปิดทวารหนักแต่อยู่ผิดที่จากตำแหน่งปกตหรือรูทวารหนักมีการตีบแคบ
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
การดูแล colostomy ทำอย่างไร
กรณีมีการรั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ และสังเกตการรั่วซึมของอุจจาระทุก 2 ชั่วโมง
เด็กที่มีถุงรองรับอุจจาระทางทวารเทียม เลือกขนาดของปากถุง ให้ครอบปิดกระชับพอดีกับขนาดทวารเทียม ไม่แน่นเกินไป
หลังผ่าตัดสัปดาห์แรก แผลยังหายไม่ดีพอ ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณอุจจาระในถุง 1⁄4-1/3 ของถุง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม ถ้ามีการอักเสบ รอยถลอกรายงานแพทย์
หลังผ่าตัดทำรูทวารหนัก ป้องกันการตีบแคบได้อย่างไร
ภายหลังผ่าตัดประมาณ 2สัปดาห์แพทย์จะเริ่มถ่างขยายรูทวารหนัก(Analdilatation)โดยเริ่มจากเบอร์ขนาดเล็กประมาณ 7-10 มิลลิเมตร
สังเกตการไม่มีรูทวารหนักทารกหลังคลอดอย่างไร
จากการตรวจร่างกาย ไม่พบรูเปิดทางทวารหนัก หรือ พบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
ไม่มีการถ่ายขี้เทา (Meconium) ภายใน 24 ชั่วโมง
วิธีการฝึกการควบคุมกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทำอย่างไร
ให้ฝึกขับถ่ายโดยนั่งกระโถน เช้า เย็น
อายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย
การฝึกขับถ่ายอุจจาระเมื่ออายุ18-24 เดือน โดยนั่งกระโถน เช้า เย็น
ปัญหาที่พบได้หลังผ่าตัด
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของแผล : การถ่างขยาย การฝึกอุปนิสัยการขับถ่าย
ท้องผูก : การสวนล้างร่วมกับการใช้ยาระบาย
กลั้นอุจจาระไม่ได้ : ฝึกฝนการกลั้นอุจจาระเพื่อให้เด็กใช้กล้ามเนื้อที่มีอยู่อย่างเต็มที่
ปากแหว่ง-เพดานโหว่ (Cleft-lip , Cleft-palate )
การรักษาปากแหว่ง
การผ่าตัด ปากแหว่งด้านซ้าย Triangular Flap
ผ่าตัดปากแหว่งด้านขวา Rotation Advancement Method
ผ่าตัดปากแหว่งทั้ง 2 ด้านStraight Line Repair
การผ่าตัดแก้ไขเพดานโหว่
ต่อมาผ่าตัดเพดาน เพื่อให้มีการพูดให้ชัดเจนใกล้เคียงปกติมากที่สุด
ขั้นต่อมาการผ่าตัดแก้ไขจมูก ทำเมื่ออายุ 3 ปี และตามด้วยการฝึกพูด
ขั้นตอนแรกแพทย์จะปรึกษาทันตแพทย์ เพื่อใส่เพดานเทียใฃม
ขั้นต่อมาอายุ 5 ปี ปรึกษาทันตแพทย์จัดฟัน
ขั้นต่อมารักษาความผิดปกติที่หลงเหลืออยู่
ปัญหาที่เกิดร่วมกับความผิดปกติ
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ
หายใจลำบาก
พูดไม่ชัดเนื่องจากเพดานปากเชื่อมติดกับเพดานจมูก
อาการและอาการแสดง
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ
หายใจลำบาก
การดูดกลืนจะผิดปกติ
อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้มีปัญหาการได้ยินผิดปกติ
การวินิจฉัย
สามารถตรวจได้เมื่ออายุครรภ์ 13-14 สัปดาห์ ด้วย ultrasound
การซักประวัติเพื่อหาสาเหตุทางกรรมพันธุ์
การตรวจร่างกาย
ความหมาย
ปากแหว่ง (Cleft-lip) หมายถึงมีความผิดปกติบริเวณริมฝีปาก เพดานส่วนหน้าแยกออกจากกัน ซึ่งเพดานส่วนหน้าจะเจริญสมบูรณ์ ช่วง 4-7สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์
เพดานโหว่(Cleft-palate) มีความผิดปกติบริเวณเพดานหลังแยก
ออกจากกันซึ่งเกิดได้ระยะทารกอยู่ในครรภ์มารดาช่วง 12 สัปดาห์
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
1.ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญของเด็กปากแหว่เพดานโหว่ในระยะก่อนผ่าตัด คือเรื่องใด มีวิธีการป้องกันอย่างไร
การติดเชื้อทางเดินหายใจ /หูชั้นกลาง / การอุดกั้นทางเดินหายใจจากการสําลัก
4.หลังผ่าตัดทารกควรนอนท่าใด
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำเพื่อป้องกันการเสียดสีกับที่นอนแผลอาจแยกได้
5.หลังผ่าตัด ทารกดูดขวดนมได้เมื่อใด
ห้ามดูดนม 1 เดือน ให้นมโดยใช้ช้อนหลอดหยด syring ต่อยางเหลืองนิ่มและป้อนนมอย่างระมัดระวัง
3.หลังผ่าตัด การดูแลเพื่อป้องกันแผลแยกทำอย่างไร
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังดูแลผู้ป่วย
งดใส่สายยางดูดเสมหะเข้าช่องปาก
สอนผู้ดูแลเกี่ยวกับการผูกยึดข้อศอก ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยล้วงมือเข้าในปาก
ผูกยึดข้อศอกทั้งสองข้าง (elbow restraint) ไม่ให้งอประมาณ 2-6สัปดาห์
ไม่ให้ดูดนม 1 เดือน การให้นมโดยใช้ช้อน หลอดหยด syring ต่อยางเหลืองนิ่ม
2.การผ่าตัดปากแหว่ง ควรทำเมื่อใด / การ่าตัดเพดานโหว่ควรทำเมื่อใด
วางแผนและเตรยีมผ่าตัดตั้งแต่อายุแรกเกิดและจะได้รับการผ่าตัดซ่อมแซมริมฝีปากอายุประมาณ 3-6 เดือน
การผ่าตัดซ่อมแซมเพดาน มักทําเมื่ออายุประมาณ 1 ปี
การพยาบาล
การพยาบาลหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
เสี่ยงต่อการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจจากการสำลัก
ไม่สุขสบายเนื่องจากแผลผ่าตัด
มีโอกาสขาดน้ำและสารอาหารเนื่องจากข้อจำกัดในการดูดกลืนหลังผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดแผลแยก เลือดออก ติดเชื้อ
บิดามารดา ขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลทารกหลังผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
บิดา มารดา ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธีการดูแลรักษา
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ หูชั้นกลาง การอุดกั้นทางเดินหายใจจากการสำลัก
มีโอกาสขาดสารน้ำสารอาหารจากการดูดกลืนปกติ
บิดา มารดา วิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดพิการแต่กำเนิด
การพยาบาลหลังผ่าตัดcleft lip
ระมัดระวังไม่ให้แผลผ่าตัดดึงรั้ง
ระวัดระวังสิ่งคัดหลั่งจากจมูกมาปนเปื้อนแผลผ่าตัด
สอนบิดา มารดา ทำความสะอาดแผล
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำเพื่อป้องกันการเสียดสี กับที่นอน แผลอาจแยกได้
ป้ายยาครีมปฎิชีวนะตามแผนการรักษา
ห้ามดูดเสมหะในช่องปาก
ห้ามอ้าปากทารกกว้างๆเพื่อป้องกันแผลแยก
สังเกตอาการออกเสียงขึ้นจมูกและอาการสำลักอาหารจากปากเข้าจมูก
เป้าหมายของการพยาบาล
การดูแลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด
การดูแลหลังผ่าตัดเพดานโหว่ ถึงอายุ 4-5 ปี
งด ดูด เป่า ประมาณ 3 สัปดาห์
ควรได้รับการสอนฝึกพูดเสมอ
อายุประมาณ 2 ปีครึ่ง - 3 ขวบ แพทย์จะพิจารณาผ่าตัดแก้ไข
อายุประมาณ 4-5 ปี ส่งทำ Nasendoscope
วันทารกและเด็กพิการแต่กำเนิดโลก คือ วันที่ 3 มี.ค.ของทุกปี
โดยความพิการแต่กำเนิดแบ่งได้ เป็น 2 ส่วน
1.ความพิการทางด้านโครงสร้างของร่างกาย
2.ความพิการของการทำงานในหน้าที่และภาวะร่างกาย
ความพิการในทารกแต่กำเนิดที่พบบ่อยที่สุด 4 อันดับแรก
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
แขนขาพิการ
ปากแหว่งเพดานโหว่
กลุ่มอาการดาวน์
นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์ รุ่น 36/1 เลขที่ 37
รหัสนักศึกษา 612001038