Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสวนล้าง, นางสาวปรารถนา นักคำพันธ์ เลขที่ 16
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสต…
การสวนล้าง
การล้างตา (Eye washing)
การล้างตา หมายถึง การทำความสะอาดภายในตาด้วยเทคนิคไร้เชื้อ (sterile technique) ดังนั้นพยาบาลจึงต้องมีวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องในการให้การดูแลเรื่องการล้างตาเพื่อบรรเทาความไม่สุขสบายของผู้ป่วยหรือลดภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อเมื่อไม่ยึดหลักเทคนิคไร้เชื้อ
วัตถุประสงค์
- เพื่อขจัดฝุ่นละออง สารเคมี ล้างพิษหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากตา
- บรรเทาอาการเจ็บปวด
- ล้างตาเตรียมความสะอาดก่อนผ่าตัด
- ทำให้เกิดความสุขสบาย
อุปกรณ์
ชุดล้างตาไร้เชื้อ (sterile) 1 ชุด ประกอบด้วย syringe 10-20 cc 1 อัน ถ้วยเล็ก 1 ใบ
สารละลายน้ำเกลือ (NSS)
สำลีไร้เชื้อ (sterile)
ผ้ายางไว้สำหรับรองใต้ศีรษะผู้ป่วย
ชามรูปไต
(Set IV และเสา IV กรณีประเมินแล้วผู้ป่วยต้องการล้างตาในปริมาณมาก)
วิธีปฏิบัติ
-
-
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายไม่หนุนหมอน ใช้ผ้ายางรองใต้ศีรษะผู้ป่วย นำชามรูปไตรองใต้หางตาผู้ป่วยข้างที่ต้องการจะล้าง จัดให้ส่วนเว้าของชามรูปไตกระชับกับส่วนโค้งของใบหน้า บอกให้ผู้ป่วยเอียงใบหน้ามาข้างที่จะล้าง
-
ล้างมือ เปิดชุดล้างตาไร้เชื้อ (sterile) เทน้ำยาล้างตาลงในถ้วยใบเล็กใช้ syringe ดูดน้ำยาจากถ้วยใบเล็ก หรือใช้ Set IV ต่อกับ NSS ล้างตาให้ผู้ป่วย
-
-
ใช้มือข้างที่ถนัดจับ syringe แล้วค่อยๆดันน้ำยาให้ไหลจากหัวตาเป็นสายตลอดเวลา พร้อมทั้งให้ผู้ป่วยกลอกตาขณะทำการล้างตาจนสะอาด
เพื่อเพื่อขจัดฝุ่นละออง สารเคมี ล้างพิษหรือสิ่งแปลกปลอมออกจากตา บรรเทาอาการเจ็บปวด ล้างตาเตรียมความสะอาดก่อนผ่าตัด และทำให้เกิดความสุขสบาย
-
-
-
-
การล้างหู (Ear washing)
แนวคิดสำคัญ
การล้างหู (Ears washing) หมายถึง การใช้น้ำอุ่นที่สะอาดฉีดเข้าไปในช่องหู โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อล้างสิ่งที่ไม่ต้องการ หรือเอาสิ่งแปลกปลอมออกจากหู
อุปกรณ์
1.น้ำต้มสุกสะอาด หรือ น้ำสะอาด
2.syringe 10-20 cc 1 อัน และเข็มพลาสติก (medicut หรือ iv catheter) เบอร์ 18
3.ชามรูปไต 1 ใบ
4.ผ้ายางหรือผ้ารองกันเปื้อน
5.สำลี 2 ก้อน
6.เครื่องตรวจหู (otoscope)
7.อุปกรณ์ถ่างรูหู (ear speculum)
-
-
-
การสวนล้างลำไส้
อุปกรณ์
1.หม้อหรือถุงพลาสติก ที่ใส่น้ำยาสำหรับล้างน้ำยาที่ใช้อาจใช้น้ำอุ่น น้ำเกลือหรือน้ำกลั่น ให้อุ่นประมาณ 103-105 องศาฟาเรนไฮต์ จำนวนที่ใช้ประมาณ 1,000 – 2,000 cc
- สายยางที่ต่อปลายหม้อสวนใช้สายยางเบอร์ 22 หรือ 24
- Clamp
- น้ำยาหล่อลื่น
หรือปัจจุบันนิยมใช้น้ำยาสำเร็จรูป และถุงมือสะอาด ในเอกสารฉบับนี้ผู้เขียนขอกล่าวถึงวิธีที่นิยมในปัจจุบัน
วิธีปฏิบัติ
- แจ้งวัตถุประสงค์ อธิบายขั้นตอน จัดท่าท่าที่เหมาะสมโดยนอนตะแคงซ้าย ใช้ผ้ายางรองบริเวณก้น
-
- ล้างมือ สวมถุงมือสะอาด หล่อลื่นทวารด้วยน้ำยาหล่อลื่น
-
- นำน้ำยาสำเร็จรูปค่อยๆ สอดเข้าไปในรูทวารหนัก บีบน้ำยา จนหมดขวด
-
- จัดท่าสุขสบายให้ผู้ป่วย เก็บอุปกรณ์ ล้างมือ
-
- เขียนรายงานลงในรายงานให้การพยาบาล (nurse's notes) เกี่ยวกับผลของการพยาบาล
-
จุดเน้นสำคัญ
เทคนิคและจุดสร้างคุณภาพ
- การเปิดเผยส่วนล่างของผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ผู้ปฏิบัติควรคำนึงถึงความรู้สึกของผู้ป่วยอย่างมาก เพราะผู้ป่วยจะเขินอายและวิตกกังวล จึงควรให้การปกปิดร่างกาย เปิดเฉพาะส่วนที่จำเป็น กั้นม่านให้มิดชิด คลุมผ้าให้รู้สึกอบอุ่นไม่โล่งเปลือย และทำความสะอาดเปลี่ยนเสื้อผ้าให้เรียบร้อยเมื่อสวนอุจจาระแล้วเสร็จ
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะ
อุปกรณ์
๑. ชุดสวนปัสสาวะพร้อมน้ำยาชำระอวัยวะสืบพันธุ์/0.9 %NSS
๒. ชุดการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์พร้อมน้ำสบู่/น้ำสะอาด/ น้ำยาชำระอวัยวะสืบพันธุ์
๓. ถุงมือปราศจากเชื้อ
๔. ถุงมือสะอาด
๕. น้ำยาหล่อลื่น/ KY-jelly
๖. ภาชนะหรือถุงสำหรับใส่สำลีที่ใช้แล้ว
๗. ผ้าปิดตา
๘. หม้อนอน
ถ้าสวนค้างเพิ่ม
๙. สายสวนปัสสาวะ (Foley’s Catheter)
๑๐. กระบอกฉีดยาดูดน้ำกลั่นจำนวนตามชนิดของสายสวนนั้นๆ พร้อมถาดรอง
๑๑. พลาสเตอร์/อุปกรณ์สำหรับตรึงยึดสายสวนปัสสาวะ
๑๒. ถุงรองรับปัสสาวะพร้อมที่แขวน
-
แบ่งตามเทคนิคได้ 2 ชนิด ได้แก่ การสวนปัสสาวะชนิดเป็นครั้งคราว (intermittent catheterization) และการสวนปัสสาวะชนิดคาสายปัสสาวะ (indwelling catheterization or retained catheterizations: IUCs)
-
จุดเน้นสำคัญ
- พยาบาลต้องประเมินลักษณะการไหล ปริมาณและลักษณะของสารน้ำ
และปัสสาวะที่ไหลออกมาเป็นระยะ และต้องคอยดูแลปรับอัตราการไหล
ของสารน้ำที่ใส่เข้าไปชะล้างกระเพาะปัสสาวะให้สอดคล้องกับ
จำนวนสารน้ำและปัสสาวะที่ไหลออกมา
-
นางสาวปรารถนา นักคำพันธ์ เลขที่ 16
นักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 27 ห้อง A รหัสนักศึกษา 623020110168