Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกเเละเด็กที่มีความพิการเเต่กำเนิด, 612001052 นางสาวธิดาวรรณ…
การพยาบาลทารกเเละเด็กที่มีความพิการเเต่กำเนิด
ความพิการเเต่กำเนิด
Major anomalies
ความผิดปกติที่ทำให้การทำงานของอวัยวะเสียไปจำเป็นต้องรักษา
เช่นภาวะภาวะหลอดลมประสาทไม่ปิ(neural tuube defects)
Minoranomalies
ความผิดปกติที่ไม่มีผลให้การทำงานของอวัยวะเสียไป
เช่นติ่งบริเวณหน้าหูการพับผิวหนังของเปลือกตาบนปาน
การจำเเนกความพิการเเต่กำเนิดตามกลไกการเกิด
Malformation
คือลักษณะรูปร่างที่ผิดไปเกิดจากกระบวนการเจริญพัฒนาภายในที่ผิดปกติ
อาจเกิดจากพันธุกรรมหรือสิ่งเเวดล้อมเช่นนิ้วเเยกไม่สมบูนิ้วเกินติ่ง บริเวณหน้าหู เท้าปุก
Deformation
เกิดจากเเรงกระทำจากภายนอกทำให้อวัยวะผิด รูปไปในระหว่างการเจริญพัฒนาของอวัยวะ
เช่น มีภาวะถุงนำ้ครำ่รั่วระหว่างตั้งครรภ์ทำให้ เกิด oligohydramnios sequence
Disruption
ภาวะโครงสร้างของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อผิดปกติจาก สาเหตุภายนอกรอบกวนกระบวนการเจริญพัฒนา อวัยวะที่ไม่ใช่พันธุกรรม
เช่น ทารกขาดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย การ บาดเจ็บของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ เเม่ได้รับยาหรือสาร เคมีที่มีผลต่อการพฒนาอวัยวะทารก
Dysplasia
เป็นความผิดปกติระดับเซลล์ของ เนื้อเยื่อพบในทุกส่วนของร่างกาย
เช่นกลุ่มโรค skeletal dysplasia เกิดจากความผิด ปกติของกระดูก เด็กจะมีตัวเตี้ย เเขนขาสั้น ศีรษะโต สันจมูกแบน
สาเหตุของความพิการเเต่กำเนิด
พันธุกรรม
ในกรณีที่บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ในครอบครัวเป็นโรคความพิการเเต่ กำเนิด
เช่น โรคปากเหว่ง เพดานโหว่
ปัจจัยจากสิ่งเเวดล้อม
มารดามีอายุมากเกินไปโรคติดเชื้อขาดสารอาหารขาดวิตามิน
มารดากินยาหรือสารเสพติดมารดาได้รับสารเคมีจากสิ่งเเวดล้อม
รังสีเอ๊กซ์ หรือรังสีเเกมม่ารวมทั้งสารกัมมันตรังสีทางการเเพทย์ความผิดปกติของครรภ์หรือภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ปากเเหว่ง-เพดานโหว่(clefe-lip,cleftpalate
ความหมาย
ปากเเหว่ง
ความผิดปกติที่ริมฝีปาก เพดานส่วน หน้าเเยกออกจากกัน
ซึ่งเพดานส่วนหน้าจะเจริญสมบูรณ์ช่วง 4-7สัปดาห์เเรกของการตั้งครรภ์
เพดานโหว่
มีความผิดปกติบริเวณเพดานหลังเเยกออก จากกัน
ซึ่งเกิดได้ระยะทารกอยู่ในครรภ์มารดาช่วง 12 สัปดาห์ เพดานส่วนหลังเจริญเป็นเพดานเเข็ง เเละเพดานอ่อนหลังต่อช่องโหว่หลังฟันคู่หน้า
อุบัติการณ์
ปากเหหว่งอย่างเดียวอาจเป็นข้างเดียว ไม่มีเพดานโหว่
ปากเเหว่งสอง ร่วมเพดานโหว่ พบได้ประมาณ46% เพดานโหว่อย่างเดียวพบประมาณ 33%
วินิจฉัย
สามารถตรวจได้เมื่ออายุครรภ์13-14สัปดาห์
การซักประวัติเพื่อหาสาเหตุทางพันธุกรรมการตรวจร่างกาย
อาการเเละอาการเเสดง
เมื่อทารกมีปากเเหว่งเพดานโหว่การดูดกลืนจะผิดปกติต้องใช้เเรงมากขึ้น
เกิดการสำลักเพราะไม่มีเพดานรองรับ เมื่อมีอาการกลืนอาหาร อาหาร เลื่อนตัวไปในจมูกทำให้อาหารเข้าเข้าทางหลอดลมพูดไม่ชัดเนื่องจาก เพดานปากเชื่อมติดกับเพดานจมูก
หายใจลำบาก อาจติดเชื้อในหูชั้นกลางทำให้มี ปัญหาการได้ยินผิดปกติ
การรักษาปากเเหว่ง
การผ่าตัดอาจทำภายใน 48 ชม.หลังคลอดในรายที่เด็ก สมบูรณ์ดี หรือ รอตอนเด็กอายุอย่างน้อย8-12สัปดาห์
เพราะในระยะนี้เด็กมีริมฝีปากโตพอสมควร ทำให้การผ่าตัดได้ง่านเเละได้ผลดีกว่า
อาจใช้ กฎเกิน10 คือเด็กจะผ่าตัดเมื่ออายุ10วัปดาห์ขึ้นไป นำ้หนัก ตัว 10ปอนด์ ฮีโมโกลบิน10กรัมเปอร์เซ็นต์ขึ้นไป
การผ่าตัดเเก้ไขเพดานโหว่ palatoplasty,palatotorrhaphy
ขั้นตอนเเรกเเพทย์จะปรึกษาทันตเเพทย์ เพื่อใส่ เพดานเทียม เพื่อปิดเพดานช่องโหว่ให้ทารกสามารถดูดนมได้โดยไม่สำลัก
ขั้นตอนตอนมาผ่าตัดเพดาน เพื่อให้ พูดชัดขึ้นใกล้เคียงปกติมากที่สุด
การผ่าตัดเเก้ไขเพดานโหว่
ขั้นตอนต่อมาผ่าตัดเเก้ไขจมูก ทำเมื่ออายุ3ปี
อายุประมาณ5ปี ปรึกษาทันตเเพทย์จัดฟัน
ขั้นต่อมาเป็นการผ่าตัดที่หลงเหลืออยู่เพื่อให้ลักษณะริมฝีปาก จมูก และลักษณะช่องปาก ใกล้เคียงปกติที่สุด
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
1.ภาวะเเทรกซ้อนที่สำคัญของเด็กปากเหว่วเพดานโหว่ในระยะก่อนผ่าตัด คือเรื่องใดมีวิธีการป้องกันอย่างไร
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดือนหายใจ/หูชั้นกลาง/การ อุดกั้นทางเดิอนหายใจจากการสำลัก
ดูเเลให้นมอย่างถูกวิธี
รักษาความสะอาดช่องปาก
เตรียมลูกยางเเดงสำหรับดูดเสมหะ ไว้ข้างเตียง
สังเกตอสหาร หายใจผิดปกติ ไอ ไข้
ชั่งนำ้หนักทารกวันละครั้ง
ถ้านำ้หนักไม่ขึ้นได้รับนมไม่เพียงพอ รายงานเเพทย์เพื่อ พิจารณาใส่สายให้อาหาร
2.การผ่าตัดปากเเหว่ง ควรทำเมื่อใด/การผ่าตัดเพดาน โหว่ควรทำเมื่อใด
การทำการผ่าตัดเด็กปากเเหว่งอาจทำใน48ชม.หลังคลอด ในรายที่เด็กสมบูรณ์ดีหรือรอเด็กที่มีอายุอย่าง น้อย8-12สัปดาห์ เพราะเด็กระยะนี้มีกายวิภาคของริมฝีปาก โตพอสมควรชัดเจน ทำให้การผ่าตัดทำได้ง่ายเเละผลดีกว่า
การทำการผ่าตัดเพดานโหว่ควรทำอายุ ประมาณ6-18เดือน สภาพร่างกายแข็งแรงไม่มี โรคติดเชื้อทางเดินหายใจเฉียบพลัน
3.หลังผ้าตัด การดูแลเพื่อป้องกันเเผลเเยก ทำอย่างไร
ผูกยึดข้อศอกทั้งสองข้างไม่ให้งอ2-6สัปดาห์ คลายทุก1-2ชั่วโมง ครั้งละ10-15นาที
สอนผู้ดูเเลเกี่ยวกับการผูกยึดข้อศอก ป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยล้วงมือเข้าในปาก
งดสายยางดูดเสมหะเข้าช่องปาก
ไม่ให้ดูดนม1เดือนการให้นมโดยช้อน หลอดหยดsyringต่อ ยางเหลืองนิ่ม เเละป้อนนมอย่างระมัดระวัง
4.หลังผ่าตัดทารกควรนอนท่าใด
จัดท่ากึ่งนั่งกึ่งนอนหรือตะเเคงหน้า
5.หลังผ่าตัด ทารกจะดูดขวดนมได้เมื่อใด
ดูนมได้เมื่อครบ1เดือนไปเเล้ว
หลอดอาหารตีบรั่ว Esophageal stenosis / fistula /atresia
อาการเเละอาการเเสดง
ทารกเเรกเกิด
นำ้ลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอาอาหาร เเละเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
ผู้ป่วยอาจตายเนื่องจากขาดอาการ นำ้ เกลือเเร่ เเละการสำลัก
ส่วนใหญ่มีโรคหัวใจพิการเเต่กำเนิด ความ ผิดปกติของลำไส้เล็ก ไส้ตรง เเละรูทวาร
การรักษา
ระยะเเรก
Gastrostomy
ระยะสอง
Thoracotomy and division of the fistula with Esophageal anastomosis
Esophagogram Try oral feeding Off gastrostomy tube
การพยาบาลก่อนผ่าตัดเเก้ไข หลอดอาหาร
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบหายใจลำบากหรือ หยุดหายใจเนื่องจากสำลักนำ้ลายหรือนำ้ย่อย เข้าหลอดลม
จัดท่านอนให้เหมาะสม ผลิกตะเเคงตัวบ่อยๆ On NG tube ต่อ continuous suction
ให้ออกซิเจนกรณีที่มีภาวะพร่อง ออกซิเจน ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
อาจได้รับสารอาหารเเละสารนำ้ไม่เพียงพอ เนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ดูเเลให้สารนำ้ทางหลอดเลือดดำ ตามเเผนการรักษา ดูเเลให้สารอาหาร นม นำ้ท่ว Gastrostomy tube
วินิจฉัยปัญหาเเละการพยาบาล
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต่อ หลอดอาหาร(เเผลเเยก)
ห้ามใส่สาย NG tube หรือสาย suction ดูด เสมหะในคอเเละไม่ควรนอนเหยียดคอ เพราะอาจ ทำให้หลอดอาหารตึงเเละเเผลผ่าตัดเเยก
ดูเเลการให้การทำงานของ ICU มีประสิทธิภาพ
ดูเเลให้ได้รับสารนำ้ทางหลอดเลือดดำ,Antibiotic ตามเเผนการรักษา
การพยาบาลหลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดเเฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
จัดท่านอนศีรษะสูง ตรวจสอบการทำงานของ ICD
ระวังสายหัก พับงอ/นวดคลึงสายบ่อยๆ
บันทึก ลักษณะ สี จำนวนของ discharge
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณเเผลผ่าตัดเเละเเผล Gastrostomy
ล้างมือก่อนเเละหลังให้การพยาบาล
ทำเเผลอย่างน้อยวันละ2ครั้ง สังเกตการติดเชื้อ
ดูเเลให้ยา antibiotic ตามเเผนการรักษา
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
1.อาการเเสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารตีบคืออะไร
มีอาการนำ้ไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอา อาหารเเละเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ อาจ พบอากาศในกระเพาะอาหาร
2.อาการเเสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารมีรูรั่วคืออะไร
มีอาการปวดทันทีทันใดเเละรุนเเรง อ่อนเพลีย อาเจียนเป็นเลือด กลืนลำบาก
3.การให้นม TE fistula ทำอย่างไร
จัดท่านอนให้ศีรษะสูง45องศาอย่าง น้อย 30-60นาที
ล้างมือให้สะอาด
เตรียมอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อม ประกอบด้วย นมหรือ อาหารปั่นเหลว กระบอกฉีดยาพร้อมลูกสูบ (ไซรินจ์) ขนาด 50CC สำหรับใส่อาหารหรือน้ำสะอาด
ขนาด 50CC สำหรับใส่อาหารหรือน้ำสะอาดนำกระบอก ฉีดยาต่อเข้ากับช่องให้อาหารตรงปลายสาย ตรวจสอบ ปริมาณอาหารที่เหลือค้างอยู่ในกระเพาะก่อนให้อาหารมื้อ ใหม่ ถ้าเหลือมากกว่า 50CC ให้เลื่อนเวลาให้อาหารไป 30 ถึง 60 นาที
เริ่มต้นให้อาหารโดยการปิดสายให้อาหารด้วยตัวหนีบ (Clamp) เพื่อป้องกันอาหารเก่าไหลย้อนออกมา
หลังจากนั้น เทอาหารเหลวใส่กระบอกโดยเอาแกน ในออกในปริมาณที่ต้องการ ปลดตัวหนีบ อาหารจะ ไหลเข้าไปในกระเพาะอาหาร
4.การดูเเล Gastrostomy ทำอย่างไร
การดูเเลเเผลรูเปิด
ในระยะ 1-2 สัปดาห์แรกหลังใส่สายสวนกระเพาะอาหาร ควรทําาความสะอาดแผลรูเปิดทุกวันด้วยวิธีปราศจากเชื้อ โดยใช้ยาเช็ดแผล เบตาดีน (Betadine) หรือ 70% แอลกอฮอล์ และปิดผ้าก๊อซปราศจากเชื้อ ควรปฏิบัติ ตามคําา แนะนําาของแพทย์หรือพยาบาลผู้ดูแลอย่างเคร่งครัด
ในระยะต่อมาเมื่อแผลแห้งดี ควรปฏิบัติดังนี้ - ทําาความสะอาดแผลรูเปิดทุกวัน วันละ 1-2 ครั้งหลังอาบน้ําา - ทําาความสะอาดแผลรูเปิดโดยใช้ไม้พันสําาลีชุบน้ําาเกลือ (normal saline) หรือน้ำต้มสุกควรเอาใจใส่แผลบริเวณใต้ เเป้นสายสวนให้สะอาด และเช็ดให้ เเห้ง(หากใช้นำ้เกลือควรเทแบ่งใส่ภาชนะสะอาด ครั้งละประมาณ 5-10 ซีซี) - ไม่มีความจำเป็นต้องปิดผ้าก๊อซหากแผลรูเปิดแห้งไม่มีเลือดหรือนำ้เหลืองซึม - โดยทั่วไปแผลแห้งดีสามารถอาบนำ้ได้ตามปกติ (ยกเว้นข้อห้ามจากเเพทย์)และควรทําาความสะอาดผิวหนังรอบๆ แผลด้วยสบู่และน้ําาสะอาด เช็ดให้แห้ง - หากบริเวณแผลรูเปิดมีอาการบวมแดง มีอาหารหรือของเหลวออกมาจากแผล รูเปิด ควรรีบปรึกษาแพทย์
การดูเเลสายสวนกระเพาะอาหาร
1.ข้อควรระวังคือการอุกกั้นของสาย
การป้องกันคือ
ให้นํ้าหลังให้อาหารหรือนมทุกครั้ง ปริมาณอย่างน้อย 20-30 ซีซี (เด็กทารก 10-20 ซีซี) กรณีผู้ป่วยที่แพทย์จําา กัดปริมาณน้ําดื่ม ควรปรึกษาแพทย์
ให้น้ําก่อนและหลังให้ยาทุกครั้ง
ควรให้น้ําอย่างน้อยทุก 4-6 ชั่วโมง กรณีที่ให้อาหารแบบหยดช้าๆ ต่อ เนื่อง หลายชั่วโมง และทุกครั้งที่หยุดเครื่องควบคุมอัตราการไหลของ อาหาร
ให้นำ้ทุกครั้งหังจากตรวจสอบปริมาณอาหารที่เหลือในกระเพาะ อาหาร โดยไม่ได้ให้อาหารหรือนมต่อถ้าสงสัยว่าสายอุดตันให้ลองใช้ กระบอกฉีดยาใส่น้ําอุ่นเข้าไปในสายแล้วค่อยๆ ล้าง
ทำความสะอาดสายสวนกระเพาะอาหารด้านนอกและข้อต่อด้วย สบู่เเละนำ้สะอาด หากมีคาบที่ฝาควรใช้นำ้อุ่นเช็ด
หมุนตัวสายสวนกระเพาะ 360 องศาทุกครั้งหลังให้อาหาร เพื่อป้องกัน เนื้อ เยื่อรอบๆรูเปิดยึดติดกับสายสวนกระเพา
ไม่ควรหรือพับงอสายสวนกระเพาะนานเกิน ไปอาจทำให้สายแตกหักหรือพับงอหรืออุดตันได้
5.ระวังอย่าให้สายสวนแกว่งไปมามากเกินไป เพราะ อาจทําาให้แผลรูเปิดขยาย ใหญ่ขึ้นและเจ็บแผลได้
6.ควรหมั่นตรวจสอบตำเเหน่งของ สายสวนว่าถูกต้องหรือไม่
รูเปิดท่อปัสสาวะตำ่กว่า ปกติhypospadias
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ด้านบน epispadias
อาจพบร่วมกับความผิดปกติอิ่นๆเช่นexstrophy of urinary bladder , absence of prostate gland
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำไปข้างหน้า เเต่ กลับไหลพุ่งตามถุงอัณฑะหรือด้าน หน้าของต้นขา
องคชาตคดงอเมื่อมีการเเข็งตัว
องคชาตเเตกต่างจากปกติ ทำให้สูญ เสียความมั่นใจ
การเเบ่งความผิดปกติของรูเปิดท่อปัสสาวะ
Anterior or distal or mild
รู้ปิดท่อปัสสาวะมสเปิดทางด้านหน้า หรือบริเวณส่วนปลายขององคชาต มีรูตำ่กว่าปกติเพียงเล็กน่อย
Middle or moderate
รู้ปิดท่อปัสสาวะอยู่กลางองคชาต
Posterior or proximal or severe
รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ที่ใต้องคชาต บริเวณpeniscrotal,scrotal ,perineal
การรักษา
เด็กที่มีรูเปิดท่อปัสสาวะตำ่กว่าปกติ เพียงเล็กน้อยไม่จำเป็นต้อวได้รับ การผ่าตัด
การผ่าตัด
เด็กที่มีท่อปัสสาวะตำ่กว่าปกติ เวลา ถ่ายปัสสาวะไม่พุ่งตรง
เด็กที่มีความผิดปกติมากต้องได้รับการรักษาผ่า ตัดตกเเต่งท่อปัสสาวะ เพื่อให้รูเปืดปัสสาวะอยู่ ตำเเหน่งปกติ
การผ่าตัดเเก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ตำ่กว่าปกติ
1.ผ่าตัดเเบบขั้นตอนเดียว onestage repair
เป็นการผ่าตัดองคชาตยืดตรง
ตกเเต่งท่อปัสสาวะ ทำรูเปิด
2.ผ่าตัดเเบบ2ขั้นตอนtwo-stage repair
ขั้นที่1orthoplasty ผ่าตัดเเก้ไข องคชาตโค่งงอโดยการตัดเนื้อเยื่อที่ดีงรั้ง
ขั้นที่2urethoplasty หลัง ผ่าตัดorthoplastyเเล้ว6เดือนเพื่อ ให้เนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม จึงจะผ่านัดขั้น ตอนฝนของการตกเเต่งท่อปัสสาวะ โดยการทำรูเปิดให้อวูาปลาย องคชาต
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออก เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ
รูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะ เก่ากับท่อ ปัสสาวะที่สร้างใหม่เเก้ไขโดยการเย็บปิด.่อมรูที่เกิดขึ้น ซึ่งมักทำหลังผ่าตัดครั้งเเรก6-12เดือน
องคชาตโค่งงอ เเก้ไขด้วยการผ่าตัด เกิดการติดเชื้อ
การพยาบาลการการผ่าตัด
อธิบายขั้นตอนเตรียมการก่อนผ่าตัด
ประเมินความวิตกกังวล ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆเช่น ผลของการผ่าตัด การได้รับยา ระงับความรู้สึก ความรู้สึกหลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดให้นอรในท่าที่สบาย ยึดสายที่ต่อ จากuretra ให้อยู่บริเวณหน้าท้อง หรือหน้าขา
ประเมินอาหารปวด เเละให้ยาลด ปวดตามเเผนการรักษา
เก็บปัสสาวะส่งตรวจเพาะเชื้อตามเเผนการรักษา
ใช้เทคนิคปลอดภัยในการทำเเผลเเละการเท ปัสสาวะออกจากถุง
ประเมินบริเวณสายcystostomyไม่ ให้เกิดการติดเชื้อ
ให้ผู้ปกครองดูแลอย่างใกล้ชิด อธิบายให้เข้าให้ถึงสภาพเด็กที่ มีเเผลหลังผ่าตัด
คำเเนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ปกครองกระตุ้นให้เด็กดื่มนำ้มากๆ
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่าย นำ้หรือเล่นกิตกรรมที่รุนเเรง
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทำความ สะอาดร่างกายด้วยการเช็ดตัว เเนะนำให้ผู้ปกครองทราบวิธีการดูเเล ทำความสะอาดองคชาตที่คาสายปัสสาวะ
ทำความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่าย อุจจาระทุกครั้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ภายหลังการเอาสายสวนปัสสาวะออกให้สังเกตปริมาณปัสสาวะ ลักษณะการถ่ายปัสสาวะเป็นลำพุ่งดีหรือไม่
อธิบายเด็กเเละผู้ปกครองเข้าใจ ภาวะแทรกซ้อนที่ อาจเกิดขึ้น เช่น ลักษณะขององคชาต ยังโค่งงอหรือ ไม่ มีปัสสาวะออกตรงบริเวณรอนของท่อปัสสาวะที่ สร้างใหม่หรือไม่
อธิบายให้เด็ก ผู้ปกครองเข้าใจถึงความสำคัญ ในการมาพบเเพทย์ตามนัด
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
การรักษาhypospadiaโดยการ ผ่าตัดควรทำเมื่อใด เพราะเหตุใด
ควรทำเมื่อเด็กอยู่ในช่วงอายุ6-18เดือน เเต่ไม่ควร เกิน2ปี เนื่องจากเด็กเริ่มเรียนรู้เรื่องเพศหากไม่ได้รับการ รักษาจะทำให้มีผลต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจ
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง
มีเลือดออก เกิดการตีบตันของรูเปิด ท่อปัสสาวะ มีรูตรงบริเวณรอยต่อ ระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวัเก่ากับท่อ ปัสสาวะที่สร้างใหม่ องคชาตโค่งงอ เกิดการติดเชื้อ
คำเเนะนำในการดูเเลหลังผ่านัดเมื่อ กลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร
ให้เด็กดื่มนำ้มากๆทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่ง คร่อม ว่ายนำ้หรือเล่นกิจกรรมที่รุน เเรง
ดูเเลเผลผ่าตัดไม่ให้เปียก ทำความ สะอาดร่างกายด้วยการเช็ดตัว
เเนะนำ สาธิตให้ผู้ป้องครองทราบวิธี การดูเเลทำความสะอาดองคชาตที่ คาสายสวนปัสสาวะ
การพยาบาลทารกที่มีความผิดปกติ ของผนังหน้าท้อง
Umbilical hernia
Umbilical cord hernia
Omphalocele
ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์
ทำให้ช่องท้องไม่ปิด มีเยื่อบางๆของ peritoneum,wharton’s jelly,amnionหุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง
Gastroschisis
ผนังช่องท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์
ไส้เลื่อนสะดือเเตกตอนทารกอยู่ใน ครรภ์ ลำไส้,กระเพาะทะลักออกนอก ช่องท้องทางรูด้านข้าง
สายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม
การวินิจฉัย/อาการ/อาการเเสดง
ตรวจultrasound อายุครรภ์10สัปดาห์ สามารถตรวจพบถุงmembrane
หลังคลอดพบผนังหน้าท้องมักจะอยู่ขวาต่อ สายสะดือเป็นช่วงโหว่ มีอวัยวะออกมา
เด็กอาจตัวเล็ก คลอดก่อนกำหนด
การไม่มีผนังหน้าท้อง ทำให้ลำไส้ปน เปื้อนความสกปรกจากภายนอก ทำให้ติดเชื้อ
อุณหภูมิร่างกายตำ่ ตัวเย็น จากนำ้ ระเหยจากผิวของลำไส้ ทำให้สูญ เสียนำ้
อาจพบความผิดปกติร่วมด้วย เช่น malrotation intestinal atresia
การรักษา
เพื่อปิดผนังหน้าท้อง ลดภาวะ แทรกซ้อน ให้ทารกหายเร็วที่สุด
สำหรับomphaloceleขนาดใหญ่ไม่มากอาจใช้ เเผ่นsilasticปิดทับถุงomphaloceleพับด้วยผ้ายืดelastric wrapทำให้อวัยวะนอกช่องท้อวถูกดันกลับ
การรักษาโดยการผ่าตัด
Primary closure เป็นการปิดหน้า ท้องตั้งเเต่ระยะเเรกโดยดันลำไส้ กลับไปในช่องท้องเเล้วเย็บผนังหน้า ท้อง
Staged closure ในกรณีที่ดันกลับเข้าไปในช่องท้อง ทำให้ผนังหน้าท้อวตึง ไม่สามารถเย็บปิดfascia ได้หรือ เย็บปิดแล้วทำให้ช่องท้องเเน่นมาก
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
ดูเเลให้เด็กได้รับเครื่องช่วยหายใจ ประมาณ24-48ชม.
ดูเเลให้ได้รับสารนำ้เเละสารอาหาร ตามเเผนการรักษา
สังเกตอาการระวังเกิด abdominal compartment syndrome: ท้องอืดรุนเเรง ปัสสาวะออกน้อย central venous pressure สูงขึ้น ความดันในช่องอกสูงขึ้น
การดูเเลเพื่อลดเเรงดันในช่องท้อง
ให้ยาระงับปวดให้เหมาะสม จัดท่าผู้ป่วยนอนราบ ศีรษะสูงไม่ เกิน30องศา
ใส่สายสวนอาหารเเละลำไส้ใหญ่ ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการ ทำงานของลำไส้
หอกไตเพื่อดีงนำ้ออกจากร่างกาย การใส่สาวระบายในช่องท้อง
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
1.Gastroshisisกับ Omphaloceleเเตกต่างกันอย่างไร
Gastroshissคือไส้เลื่อนสะดื้อเเตกตอนอยู่ในครรภ์ ลำไส้ กระเพาะทะลักออกนอกช่องท้องทางรูด้านข้าง สายสะดือไม่มีสิ่งห่อหุ้ม ส่วนOmphaloceleคือช่วง ท้องไม่ปิด มีเยื่อบางๆของperitoneum,wharton’s jelly,amnionหุ้มอวัยวะที่ออกนอกช่องท้อง
2.เด็กดูเเลในระยะดันลำไส้กลับไป ในช่องท้องเด็กต้องจีดท่านอน อย่างไร เพราะเหตุใด
การฟังbowl soundหลังผ่าตัดปิด หน้าท้องเด็ก มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไรติดตามฟังการทำงานของลำไส้
4.ภาวะเเทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดหน้า ท้องเด็ก ต้องนะวังภาวะใด มีอาการ เเละอาการเเสดงอย่างไร
ให้ยาระงับปวด จัดท่าผู้ป่วยให้นินราย ศีรษะสูงไม่ เกิน30องศา
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารเเละ ลำไส้
ได้รับยาขับปัสสาวะ/ยากระตุ้นการ ทำงานของลำไส้
ฟอกไตเพื่อดึงนำ้ออกจากร่างกาย
การใส่ส่ยระบายในช่อง ท้อง(Percutaneous catheter drainage)
Anorectal maformation
ความหมาย
เป็นความพิการตั้งเเต่กำเนิด เด็กไม่มีรูทวารหนีกเปิดให้อุจจาระ ออกจากร่างกายได้
หรือรูเปิดทวารหนักอยู่ผิดที่จาก ตำเเหน่งปกติ หรือมีการตีบเเคบ
อุบัติการณ์
เกิดขึ้นในอัตราส่วน1ใน4000ของ เด็กเกิดมีชีวิต เด็กชายเป็นมากกว่าหญิง
พศชายพบความผิดปกติขิงลำไส้ ตรงกับท่าปัสสาวะ
เพศหญิงพบความผิดปกติในทวารหนักเป็นเเบบ ลำไส้ตรงมีรูทะลุกับเวสติบูลง
พยาธิสภาพ
ทารกมีอาการท้องผูก/ถ่ายลำบาก/ หรือไม่ถ่ายอุจจาระ
ทารกเพศชายมีอาการถ่ายขี้เทาออก ทางท่อปัสสาวะ
ทารกเพศหญิงถ่ายขี้เทาออกทางท่อ ปัสสาวะหรือทางช่องคลอด
ทำให้เกิดการติดเชื้อสู่ระบบทางเดิน ปัสสาวะ หรือระบบสืบพันธุ์
ชนิดของความผิดปกติ
Anal stenosis รูทวารหนักตีบเเคบ Imperforate anal membraneมี เยื่อบางๆปิดกั้นรูทวารหนัก
Anal agenesis รูทวารหนักเปิดผิดที่
Low type
Intermadiate tepe
High type
Rectal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
อาการเเละอาการเเสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน24ชม. ถ้ายังไม่ถ่ายให้สวสัยว่าเกิดจากที่ ลำไส้อุดตัน
ไม่พบรูเปิดทวารหนัก ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย อึดอัด ไม่สบายตัว เเน่นท้อง ท้องอืด ปวดเบ่งอุจจาระ
ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดิน
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย การตรวจรังสีวินิจฉัย x ray เพื่อ ประเมินระดับลำไส้ตรง
MRI ความผิดปกติร่วมของ ไขสันหลัง ความผิดปกติร่วมของ ลักษณะกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
การรักษา
Low type
การถ่างขยายทวารหนักโดยใช้hegar metal dilatore ใช้เบอร์9-10mm.
การผ่าตัดanal membrane ออกในราย ที่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
การผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก(anoplasty) เมื่อแผลผ่าตัดเรียบ ร้อยเเล้ว ประมาณ10วัน ถ่างขยายทวารหนักต่อ
Intermediateเเละ high
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง เพื่อบายอุจจาระ ออก (colostomy)
การผ่าตัดตกเเต่งทวาร ภาย หลัง2สัปดาห์ เเพทย์จะเริ่มถ่งขยาย รูทวารหนัก
การพยาบาลในระยะขยายทวารหนัก
ให้ความรู้เเก่บิดามารดาเกี่ยวกับ การดำเนินของโรค
สอนการดูแลในการถ่างขยายรูทวาร หนัก เเนะนำให้บิดามารดาให้อาหารตาว่ ยของเด็ก ที่มีประโยชน์
การพยาบาลหลังผ่าตัดเปิดcolostom
การดูเเล
สัปดาห์เเรกทำความสะอาดด้วยนำ้เกลือล้างเเผล เมื่อเเผลหายดีเเล้วให้ทำความ สะอาดด้วยนำ้สะอาด ซับผิวหนังรอบรูเปิดด้วยสำลีหรือผ้าสะอาดนิ่ม
เด็กที่มีอุจจาระทางทวารเทียม เลือกขนาดปากถุงให้ครอบปิดกระชับพอกับทวารเทียม
ถ้ารั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่ เเละสังเกตการรั่วทุก2ชม.
ทิ้งอุจจาระถ้ามีในถุงปริมาณ 1/4-1/3ของถุง
สังเกตอาการเปลี่ยนเเปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม
เเนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง เเคลอรีสูง กากใยมาก
สังเกตเเละบันทึกอุจจาระ สังเกตภาวะแทรกซ้อน เช่น เลือดออก ลำใส้ยื่นออกมา อุจจารมีกลิ่นเหม็น เเนะนำการมาตรวจตามนัด
การพยาบาลระยะก่อนเเละหลังผ่าตัดตกเเต่งทวารหนักAnoplasty
ทำความสะอาดบริเวณเเผลผ่าตัดรูท วารหนัก 8-10 วันตามเเผนการ รักษา
หลังผ่าตัด3-4วันหลังถอดสายสวน ปัสสาวะ ให้เเช่ก้นด้วยนำ้อุ่นกระตุ้น การไหลเวียน
ดูเเลความสะอาดผิวหนังรอบๆทวาร หนักด้วยนำ้
สังเกตการติดเชื้อ ไข้ ปวด บวม เเดง ร้อน
ให้คำเเนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การถ่างขยายรูทวารหนักสม่ำเสมอ เเนะนำเทียนไข เหลาเท่าขนาดhegar ถ่างขยาย
สอนทำความสะอาด ให้ความรู้ป้องกันท้องผูก
ถ้าถ่ายอุจจาระเหลว ให้ยาที่ทำให้ อุจจาระเป็นก้อน
สังเกตการตีบเเคบของทวารหนัก
ฝึกการขับถ่าย ฝึกกล้ามเนื้อที่ช่วย ควบคุมการถ่ายอุจจาระ
การมาตรวจตามนัด
ปัญหาที่อาจจะพบได้หลังการผ่าตัด
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของเเผล:การถ่างขยาย การฝึกอุปนิสัย การขับถ่าย การให้ยา
ท้องผูก:การสวนล้างร่วมกับการใช้ยาระบาย
กลั้นอุจจาระไม่ได้:ฝึกฝนให้กลั้นอุจจาระ เพื่อให้เด็กใช้ กล้ามเนื้อที่มีอยู่อย่างเต็มที่
ประเด็นคำถามที่ต้องการคำตอบ
สังเกตการไม่มีรูทวารหนักหลังคลอด อย่างไร
ทารกมีอาการท้องผูก ถ่ายลำบาก หรือไม่ถ่าย มีอาการขี้เทาออกทาง ท่อปัสสาวะ
การดูเเล colstomy ทำอย่างไร
ทำความสะอาดด้วยนำ้เกลือ เมื่อ เเผลหายดีเเล้วให้ทำความสะอาด ด้วยนำ้สะอาดซับผิวหนังรอบรูด้วย สำลีหรือผ้าสะอาด
เลือกขนาดปากถุงให้ครอบปิด กระชับพอดีกับขนาดทวารเทียมไม่ เเน่นเกินไป
กรณีต้องเปลี่ยนถุงใหม่ ให้สังเกต การรั่วซึมของอุจจาระทุก2ชม
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณใน ถุง1/4-1/3ของถุง
สังเกตอาการเปลี่ยนเเปลี่ยงของผิว หนังรอบๆ
อายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย
การฝึกขับถ่ายอุจจาระเมื่อ อายุ18-24เดือน โดยนั่งกระโถน เช้า เย็น
หลังผ่าตัดรูทวารหนัก ป้องกันการตีบเเคบได้อย่างไร
กาาถ่างขยายรูทวารหนักหนัก สม่ำเสมอ เเนะนำใช้เทียนไขเหลา เท่าขนาดhegar ถ่างขยาย
วิธีฝึกการควบคุมกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทำอย่างไร
ฝึกให้เด็กหนีบลูกบอล ออกกำกาย โดยการวิ่ง หรือว่ายนำ้เพื่อพัฒนา กล้ามเนื้อข้างเคียง
612001052 นางสาวธิดาวรรณ นาควิมล 36.1 เลขที่ 51