Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือวิจัย : Reseach Instrument, นางสาวชนิดา ปานลุง 612901022 -…
เครื่องมือวิจัย : Reseach Instrument
ความสำคัญ
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสําคัญ ของการวัดการประเมินตัวแปรในการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ และ สมมุติฐานในการวิจัยกับข้อมูลที่จะนำมาใช้เป็นหลักฐาน
ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่อง เป็นขั้นตอน
ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น
ความหมาย
เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้ เป็นสื่อสําหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กำหนดไว้
ประเภทของเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือในการทดลอง
เป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบทดสอบ/แบบวัดความรู้
แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึกการสังเกต
แบบตรวจสอบ/บันทึกรายการ
เครื่องมือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์
เครื่องมือช่าง ตวง วัด
มีอยู่ทั่วไปก่อนใช้ต้องมีการปรับเทียบ
เครื่องมือทดสอบร่างกาย
มีอยู่ทั่วไปก่อนใช้ต้องมีการปรับเทียบ
วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เป็นวิธีการตรวจที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางวิธีมาตรฐานในวิธีที่พัฒนาขึ้นโดยทราบความไวและความจำเพาะ
แบบประเมินความเสี่ยงเฉพาะโรค/กลุ่มอาการ
แบบฟอร์มของรายการประเมินพฤติกรรมเสี่ยงเฉพาะโรคที่ได้จากการวิจัยทางระบาดที่ทราบความไวและความจำเพาะแล้ว
เครื่องมือทางสังคมศาตร์และศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
แบบสอบถาม
นิยมใช้ในการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ
ใช้ง่ายประหยัดเวลาและงบประมาณ
แบบสอบถามเป็นชุดของคำถามเพื่อทำเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แบบสัมภาษณ์
เป็นคำถามที่ผู้วิจัยกำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการสัมภาษณ์
มักไม่ละเอียดและสามารถปรับเปลี่ยนข้อคำถามตามความเหมาะสม
แบบทดสอบหรือแบบวัดความรู้
เป็นชุดคำถามที่ใช้วัดความรู้ความจำความเข้าใจเฉพาะเรื่อง
แบบบันทึกข้อมูล
ใช้บันทึกข้อมูลทุติยภูมิเช่นข้อมูลจาก จ.ป.ฐ.
แบบบันทึกการสังเกต
ชุดของรายการหรือแนวทางปฎิบัติที่ผู้วิจัยใช้ประกอบการสังเกตุพฤติกรรมในการปฏิบัติเฉพาะเรื่อง
แบบตรวจสอบรายการ
ชุดของคำถามที่กำหนดให้มีคำตอบสองแนว เช่น มี/ไม่มี, ใช่/ไม่ใช่
ผู้วิจัย
ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการวิจัยเชิงคุณภาพ เช่น การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกการอภิปรายกลุ่มย่อย
การเลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
เลือกใช้เครื่องมือที่มีความถูกต้องสูง
เลือกใช้เครื่องมือที่มีความน่าเชื่อถือและแม่นยำ
วิธีทดสอบทำง่ายให้ผลรวดเร็ว
เครื่องมือหรือวิธีการ มีราคาไม่แพง
ใช้ตัวอย่างปริมาณน้อย ๆ ได้
การสร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
จะมีกระบวนการสร้างเหมือนกันความแตกต่างเห็นได้ชัดคือการเขียนคำถามและการวางรูปแบบของเครื่องมือ
แบบสังเกตจะสังเกตตามตัวแปรและประเด็นที่ต้องการ
แบบสัมภาษณ์ปลายเปิดมากกว่าปลาย
แบบสอบถาม
ปลายเปิดมากกว่าปลายปิด
แบบปลายเปิด
ขยายความคิดเห็นหรือให้รายละเอียดของคำตอบ
แบบปลาย
กำหนดตัวเลือกคำตอบไว้ชัดเจน
แนวทางการสร้างแบบสอบถาม
กำหนดขอบข่ายแนวคิดเรื่องราวที่ตอบให้ชัดเจน
เขียนข้อความหรือข้อคำถามจากหัวข้อย่อยทุกหัว
จัดเรียงลำดับข้อคำถาม
ควรประเมินความถูกต้องและทดลองหาคำตอบจากทุกข้อคำถามก่อน
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย
วิเคราะห์ปัญหาวัตถุประสงค์ของการวิจัยสมมุติฐานและกรอบแนวคิดในการวิจัย
ศึกษาค้นแนวคิดทฤษฎีและรายงานการวิจัย
วิเคราะห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย
กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย
การเขียนคำถามและวางรูปแบบเครื่องมือการวิจัย
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
ปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย
ทดสอบเครื่องมือวิจัย
ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
พิจารณากลุ่มคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม
ความตรงของเครื่องมือ
การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย
การตรวจสอบความตรงด้วยวิธีอื่นๆ
การตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง
การหาค่าสหสัมพันธ์ภายในเครื่องมือ
การใช้วิธี Known Grop Tecnique
ความเที่ยงของเครื่องมือ
ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเที่ยง
0 หมายถึงเครื่องมือนั้นไม่มีความเที่ยง
1 หมายถึงเครื่องมือนั้นมีความเที่ยงสูง
โดยปกติเครื่องมือการวิจัยควรมีค่าความเที่ยงไม่น้อยกว่า 0.65 แต่ที่ดีควรจะมีค่ามากกว่า 0.75
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
คุณภาพของเครื่องมือขึ้นอยู่กับลักษณะสำคัญที่ต้องพิจารณาได้แก่ความเที่ยงตรงความเชื่อมั่นความเป็นปรในอำนาจจำแนกปฏิบัติจริงได้ยุติธรรมและประสิทธิภาพ
นางสาวชนิดา ปานลุง 612901022