Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาชุมชน (การประเมินชุมชน) - Coggle Diagram
การศึกษาชุมชน
(การประเมินชุมชน)
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยชุมชนและการ
แก้ไขปัญหา
การวินิจฉัยชุมชน
(community diagnosis )
การวางแผนแก้ไขปัญหา(planning)
การปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
(implementing)
การประเมินผล (evaluating)
การประเมินชมุชน
(community assessment)
การศึกษาชุมชนหรือการประเมินชุมชน ทำให้พยาบาลเข้าใจสภาพของชุมชนในด้านต่างๆ ทั้ง ทางกายภาพ ชีวภาพ ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ การเมืองสังคม วัฒนธรรม ตลอดจนปัญหาและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน
ขั้นตอนการศึกษาชุมชน
การรวบรวมข้อมูล
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องรวบรวม
ที่ตั้งของชุมชน
ขอบเขตของชุมชน
สภาพพื้นที่ตั้งของชุมชน
สภาพอากาศในชุมชน
ระบบสังคมชุมชน
ระบบการศึกษา
ระบบเศรษฐกิจ (รายได้ อาชีพหลัก อาชีพรอง)
ระบบสาธารณสุข (รพ.ระดับต่างๆ การเข้าถึงสิทธิการรักษา ศูนย์บริการสุขภาพในชมชน ฯลฯ)
ระบบสาธารณูปโภค (ประปา ไฟฟ้า ตลาด ร้านค้า แหล่งบริการต่างๆที่ตั้งอยู่ในชุมชน)
ระบบการเมือง การปกครอง
( อบต. เทศบาล ฯลฯ)
ระบบวัฒนธรรมและแบบแผนการดำเนินชีวิต(ความเชื่อ และค่านิยม ของชุมชน)
ประชากรในชุมชน
โครงสร้างประชากร
ความหนาแน่นของประชากร
วัฒนธรรมของชุมชน
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค
อัตราการเกิดอัตราการตาย
อัตราป่วยตาย การเจ็บป่วยด้วย
โรคติดตอ่อและไม่ติดต่อ ฯลฯ
พฤติกรรมการบริโภคของชุมชน
การเตรียมเครื่องมือ
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบสังเกต
แบบทดสอบ
แบบทดลอง
การเตรียมผู้สำรวจหรือผู้รวบรวมข้อมูล
การกำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล
การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง
การวิเคราะห์ข้อมูล
จัดประเภทข้อมูล
ข้อมูลสุขภาพอนามัย เช่น อัตราเกิด อัตราตาย อัตราป่วย แบบแผนการเกิดโรค ฯลฯ
ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโรค เช่น การได้รับภูมิคุ้มกันโรค พฤติกรรมสุขภาพ ภาวะโภชนาการ
ลักษณะทั่วไปของชุมชน เช่น ข้อมูลประชากร ที่ตั้งชุมชน เศรษฐกิจ สังคม อาชีพ
การแจกแจงข้อมลู การใช้การแจงนับ (tally) หรือจะใช้การวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์
ตรวจสอบความถกูต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล
รวมจำนวนการแจงนับ (tally) ออกมาเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม แล้วนำมาคำนวณเป็นค่าร้อยละหรือค่าสถิติชีพ เช่น อัตรา ค่าเฉลี่ย เพื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์
การบันทึกข้อมูล
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
วัตถุประสงค์
จัดข้อมูลต่างๆให้อยู่ในรูปแบบที่เห็นและเข้าใจง่าย
ช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบผลอย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์
เตรียมความพร้อมสำหรับการวิเคราะห์
และแปลความหมายต่อไป
การนำเสนอโดยปราศจากแบบแผน
การนำเสนอเป็นบทความ
การนำเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง
การนำเสนอโดยมีแบบแผน
การนำเสนอด้วยแผนภูมิ
แผนภูมิภาพ
แผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่งซับซ้อน
แผนภูมิแท่งเชิงประกอบ
แผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยว
แผนภูมิแรเงาซ้อนเหลื่อมกัน
แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
แผนที่แบบเข็มหมุด
แผนที่แบบแรเงาหรือระบายสี
แผนที่แบบจุด
แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
แผนภูมิการไหลเวียน
แผนภูมิองค์การ
การนำเสนอด้วยกราฟ
ฮีสโตรแกรม
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
กราฟเส้น
การนำเสนอเป็นตาราง
ตารางทางเดียว
ตารางสองทาง
ตารางซับซ้อน
การระบุปัญหาชุมชน
ในการระบุปัญหาจำเป็นต้องมีมาตรฐานเปรียบเทียบ
กับข้อมูลนั้นๆ โดยใช้ดัชนีทางอนามัย (Health Indicator)
ซึ่งเป็นตัวบอกสถานะทางสุขภาพ เช่น อัตราป่วย อัตราตาย
ที่กำหนดในแผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ หรือแผนเมืองไทยสุขภาพดี แผนพัฒนาจังหวัด เกณฑ์จปฐ.หรืออื่น ๆ
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Set Piority)
เมื่อทราบปัญหาชัดเจนแล้ว ต้องมีการจัด
ลำดับความสำคัญ ว่าปัญหาใดมีความจำเป็น
ในการแก้ไขมากกว่า เพราะทรัพยากรมีจำกัด
( เงิน เวลา คน ) ในการจัดลำดับความสำคัญ
ของปัญหาพยาบาลชุมชนควรให้ชุมชนมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของเขา
วิธีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพบูลย์ โล่สุนทร
องค์ประกอบ
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (economic loss)
ดูการสูญเสียเวลาทำงาน
โรคนั้นป้องกันได้ (preventability) โรคที่
ป้องกันได้ต้องจัดลำดับความสำคัญไว้สงู
ความรุนแรงของโรค (virulence of disease)
ดูความพิการหรือการตายมากน้อยเพียงใด
โรคนั้นรักษาหายได้ (treatability)
ความชุกของโรค (prevalence)
ดูจากจำนวนผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยเก่า
ทรัพยากรทางด้านอนามัยและอื่นๆ
(health and other resources)
ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน (community concern and participation)
อุบัติการณ์ของโรค (incidence)
ดูจากจำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึน
จริยวัตร คมพยัคฆ์
องค์ประกอบ
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านระยะเวลา (เวลาน้อยจะมีข้อจำกัดมาก)
ด้านกฎหมาย (การแก้ปัญหาต้อง
ไม่ขัดแย้งกับกฎหมาย)
ด้านบริหาร (การจัดการภายในทีมเพื่อ
ร่วมมือกันในการแก้ปัญหารวมกำลังคน เงิน วัสดุ
ทรัพยากรต่างๆ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน)
ด้านศีลธรรม (การแก้ปัญหาต้องไมผิดศีลธรรม)
ด้านวิชาการ (ความรู้ความสามรถของผู้แก้ไขปัญหา)
ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน
เป็นความต้องการที่จะแก้ไขปัญหา
โดยเร็วของชุมชน โดยประชาชน
มีส่วนร่วมเข้าไปแก้ปัญหาด้วย
อาจารย์ จริยวัตรได้ให้คะแนน
แต่ละองค์ประกอบเต็ม4 คะแนน
องค์ประกอบด้านสุขภาพอนามัย
ขนาดของปัญหา (size of problem or
prevalence) ดูจำนวน อัตรา ร้อยละ ฯลฯ
ความรุนแรงของปัญหา (severity of problem )
ดูความพิการ ดูอัตราตาย อัตราป่วยตาย
การสูญเสียเศรษฐกิจ การระบาดลุกลาม ฯลฯ
สมาคมสาธารณสุขอเมริกา
(American Public HealthAssociated)
องค์ประกอบ
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ความต้องการความรู้เฉพาะ
ที่จะนำมาแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่มีอยู่สำหรับการแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่เกี่ยวข้องที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหา
ระดับความตระหนักในปัญหาของกลุ่ม
Hanlon and Pickett
องค์ประกอบ
ความรุนแรงของปัญหา พิจารณาจากความเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข การสูญเสียเศรษฐกิจ
ประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ปัญหา โดยดูผลัพธ์จากการแก้ปัญหาว่าทำได้เท่าใด จะลดปัญหานั้นได้เท่าใด
ขนาดของปัญหา พิจารณาขนาดของการเกิดโรค ความชุกของการเกิดโรค
ฐานะเศรษฐกิจ การยอมรับ ทรัพยากรและกฎหมาย
ตารางจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Piority Setting)
การให้ค่าคะแนน
ขนาดของปัญหา
1 = ขนาดของปัญหามากกว่า 0-25
2 = ขนาดของปัญหามากกว่า 25-50
3 = ขนาดของปัญหามากกว่า 50-75
4 = ขนาดของปัญหามากกว่า 75-100
ความรุนแรง
1= มีภาวะเสี่ยงเจ็บป่วยเล็กน้อยรักษาหาย
2 = เจ็บป่วยเรื้อรังสูญเสียเงินรักษามาก
ก่อให้เกิดการระบาด/ติดต่อ
3 = เกิดความพิการ/ทุพพลภาพ
4 = ตาย
ความยากง่าย
1 = ปัญหานั้น แก้ไขได้ยากมากๆ
2 = ปัญหานั้น แก้ไขได้ยาก
3 = ปัญหานั้น แก้ไขได้ง่าย
4 = ปัญหานั้น แก้ไขได้ง่ายมากๆ
ความวิตกกังวลของปัญหา
1 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา 0 - 25
2 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา มากกว่า 25-50
3 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา มากกว่า 50-75
4 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา มากกว่า 75-100