Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล, จัดทำโดย นางสาวนฤมล ดีสมจิตร ชั้นปีที่ 3…
การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่สำคัญ
๑. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง(Deming)
วางแผน(Plan)
การตรวจสอบ(Check)
การปฏิบัติจริง(Act)
การปฏิบัติ(Do)
๒. แนวคิดการพัฒนาคุณภาพของจูแรน (Juran)
๑) การกำหนดเป้าหมายคุณภาพ
๒) การควบคุมคุณภาพ (Quality control)
๓) การปรับปรุงคุณภาพ (Quality improvement)
๓. การพัฒนาคุณภาพตามแนวคิดของครอสบี (Crosby)
โดยมีขั้นตอนการดำเนินงาน ๑๔ ขั้นตอน
๑) ความมุ่งมั่นในการบริหารจัดการบนพื้นฐานคุณภาพ
๒) การปรับปรุงคุณภาพโดยทีม
๓) การจัดการคุณภาพ
๔) ต้นทุนคุณภาพ
๕) ความตระหนักหรือจิตสำนึกในคุณภาพ
๖) การปฏิบัติกิจกรรมปรับปรุงแก้ไข
๗) การวางแผนไร้ข้อผิดพลาด
๘) การสนับสนุนการฝึกอบรม
๙) วันแห่งข้อผิดพลาดเป็นศูนย์
๑๐) การกำหนดเป้าหมายคุณภาพของงานที่สามารถปฏิบัติให้สำเร็จได้
๑๑) การขจัดข้อผิดพลาด
๑๒) การให้การยอมรับผู้ปฏิบัติงาน
๑๓) การมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการคุณภาพ
๑๔) การทบทวนทำทุกขั้นตอนซ้ำใหม่ทั้งหมด
๑.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน (Continuous quality improvement ,CQI)
๑) เน้นการตอบสนองต่อผู้รับผลงานเป็นสําคัญ
๒) เป็นการปรับปรุงวิธีการทํางานจากงานประจํา
๓) เป็นกระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล/การคิดสร้างสรรค์และการ มีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง
๒.การประกันคุณภาพทางการพยาบาล(Nursing Quality assurance) และมาตรฐานทางการพยาบาล(Nursing standard)
การกระทำเพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาล สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพได้อย่างสม่ำเสมอ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพ
๑. เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้น
๒. เพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการบริการพยาบาลให้ดีขึ้น
แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาล
๑. แนวคิดการประกันคุณภาพในยุคเดิม
มีการตรวจสอบรวบรวมข้อมูล
รายงานผลการตรวจสอบ
พัฒนามาตรฐาน
๒. แนวคิดของการประกันคุณภาพการพยาบาลในช่วง ค.ศ. ๑๙๕๒ – ๑๙๙๒
๓. แนวคิดการประกันคุณภาพการพยาบาลเน้นที่กระบวนการ
ประเมินคุณภาพและนำผลมาพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
สมาคมพยาบาลอเมริกันแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนามาตรฐาน
รูปแบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
รูปแบบที่ ๑. การประกันคุณภาพของโรแลนด์
ออกแบบกระบวนการ
เตรียมข้อมูลภายในหน่วยงาน
กำหนดวัตถุประสงค์
เปรียบเทียบสารสนเทศที่ได้กับหน่วยงานอื่น
นำแนวคิดที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข/หากไม่ตรงตามที่ต้องการต้องเริ่มวางแผนใหม่
รูปแบบที่ ๒. การประกันคุณภาพการพยาบาลขององค์การอนามัยโลก (๑๙๙๕)
กำหนดเกณฑ์ตัวบ่งชี้
สร้างเครื่องมือวัดคุณภาพ
ประเมินค่าการวัด
ปรับปรุงคุณภาพ
รูปแบบที่ ๓ การประกันคุณภาพการพยาบาลของสมาคมพยาบาลอเมริกัน
สร้างความรู้สึกต่อคุณภาพ
กำหนดมาตรฐานและเกณฑ์
สร้างเครื่องมือวัดคุณภาพ
รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินผล
ค้นหาแนวทางการปรับปรุง
ปฏิบัติ นำวิธีที่เลือกแล้วมาปราบปรุงคุณภาพมาปฏิบัติให้เกิดผล
เลือกการวิธีปรับปรุง
รูปแบบที่ ๔ การประกันคุณภาพการพยาบาลของคณะกรรมการร่วมเพื่อการรับรององค์การ
กำหนดระดับของการรับรอง และคุณภาพโดยการเก็บรวบรวมข้อมูล
ระบุจุดสำคัญ ระบุตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดจุดสำคัญของการพยาบาล
ประเมินผลการปฏิบัติการ แก้ไข รายงานข้อมูล
การประเมินคุณภาพ/ปฏิบัติการทันทีเพื่อแก้ปัญหาที่พบจากการประเมิน
มอบหมายความรับผิดชอบ /เขียนขอบเขตของการพยาบาลและบริการที่ให้
ระบบการประกันคุณภาพ
๑. การประกันคุณภาพภายใน(Internal quality assurance)
๒.การประกันคุณภาพภายนอก (External quality assurance)
องค์ประกอบของระบบการประกันคุณภาพการพยาบาล
๑) การกำหนดมาตรฐานการพยาบาล(Nursing standard)
๒) การตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล(Nursing Audit)
๓) การพัฒนาคุณภาพหรือการปรับปรุงคุณภาพ(Quality improvement)
มาตรฐานคุณภาพบริการสุขภาพ
มาตรฐานคุณภาพบริการสุขภาพ
๑.มาตรฐานระดับสากล(Normative standards)
๒.มาตรฐานระดับผู้เชี่ยวชาญ(Empirical standards)
มาตรฐานการพยาบาล ตามสภาการพยาบาล
๑.มาตรฐานเชิงโครงสร้าง
๒.มาตรฐานเชิงกระบวนการ
๓.มาตรฐานเชิงผลลัพธ์
หมวดที่ ๓ ผลลัพธ์การพยาบาล (Nursing Outcome)
หมวดที่ ๒ การปฏิบัติการพยาบาล (Nursing practices)
หมวดที่ ๑ การบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Organization)
๓.ระบบการบริหารคุณภาพ
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล(Hospital Accreditation: HA)
เป็นกระบวนการปรับปรุงระบบงานการประเมินและพัฒนาใช้กรอบแนวทางซึ่งเน้นเป้าหมายเปิดโอกาสให้มีความหลากหลายในวิธีปฏิบัติกรอบแนวทางเน้นความต้องการร่วมของผู้ป่วยสำหรับทุกภาค ทุกระดับ
วัตถุประสงค์ของมาตรฐาน HA
มาตรฐาน HA คือ กรอบความคิดที่สื่อให้เห็นถึงองค์ประกอบสำคัญของสถานพยาบาลที่มีคุณภาพและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบเหล่านั้น
ประโยชน์จากการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation)
ความเสี่ยงลดลงทำงานง่ายขึ้น บรรยากาศการทำงานดีขึ้น ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ดีขึ้นเป็นโอกาสที่ขายความฝันส่วนตัว ภูมิใจที่ทำงานในหน่วยงานที่มีระบบดี
การพัฒนาคุณภาพบริการแบบเครือข่าย (Hospital Network Quality Audit: HNQA)
๑. Documentation การทำให้เป็นลายลักษณ์อักษร
๒. Training ฝึกอบรมสร้างความเข้าใจให้ปฏิบัติได้
๓. Motivation จูงใจให้ปฏิบัติตามเอกสารที่กำหนด
๔. Monitoring มีการติดตามผลดูเป็นระยะ
๕. Review มีการทบทวนเอกสารเป็นระยะๆ อย่างน้อยทุก ๑ ปี
การปฏิบัติตามจรรยาวิชาชีพซึ่งโรงพยาบาล
๑. Product content in service
๒. Mechanize service
๓. Personalized service
ระบบมาตรฐาน(ISO)
• ISO ๙๐๐๐ คือการจัดระบบการบริหารเพื่อประกันคุณภาพ สามารถตรวจสอบได้ โดยผ่านระบบเอกสาร
• ISO ๙๐๐๑ เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ
• ISO ๙๐๐๒ มาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพาะการผลิตการติดตั้ง และการบริการ
• ISO ๙๐๐๓ เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องการตรวจและการทดสอบขั้นสุดท้าย
• ISO ๙๐๐๔ เป็นแนวทางในการบริหารงานคุณภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเป็นข้อแนะนำ ในการจัดการในระบบคุณภาพ ซึ่งจะมีการกำหนดย่อย ในแต่ละประเภทธุรกิจ
• ISO ๑๔๐๐๐ เป็นระบบมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมมุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง
• ISO ๑๘๐๐๐ มาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
1 more item...
๔.การบริหารความเสี่ยง(Risk Management: RM)
วัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยง
เพื่อสร้างกรอบแนวทางในการดำเนินงาน
เพื่อเพิ่มคุณค่าให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร
เพื่อให้เกิดการรับรู้ ตระหนัก เข้าใจ
เพื่อให้มีระบบการติดตามผลการดำเนินการบริหาร
กระบวนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน
๑. การค้นหาความเสี่ยง(Risk indentification)
๒. การประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง
๓. การวิเคราะห์ความเสี่ยง
๔. การติดตามและการประเมินผล(Monitoring & Evaluation)
๕.การเชื่อมโยงการใช้ RM, QA , CQI และการวิเคราะห์ก้างปลา(Fish bone)
ประโยชน์
ช่วยให้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้อย่างมีเหตุผล
สามารถรู้กระบวนการของแผนกอื่นได้ง่ายขึ้น
ใช้เป็นแนวทางในการระดมสมอง
วิธีการสร้างผังก้างปลาอาจใช้หลักทางการบริหารมาการกำหนดปัจจัย
M Man คนงาน หรือพนักงาน หรือบุคลากร
1 more item...
ข้อควรระวังในการใช้แผนภาพก้างปลา
๑. สาเหตุความผันแปรในก้างปลาต้องมาจากการระดมสมองภายใต้หลักการ ๓ จริง คือสถานที่ เกิดเหตุจริง ด้วยของจริง ภายใต้สภาวะแวดล้อมจริง
1 more item...
การนำผลการวิเคราะห์ไปใช้
Deming cycle (Plan-Do- Check-Act: P-D-C-A)
การจัดลําดับความเสี่ยง(Risk profile)
การจัดการความเสี่ยง (Risk Responses)
๑) การกําหนดเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน
๒. การประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง
๑.๑ สำรวจความเสี่ยงของหน่วยงาน จะหาความเสี่ยงได้อย่างไร
๑.๒ ระบุความเสี่ยงอย่างไร
๑.๓ เทคนิคที่ใช้ระบุความเสี่ยง
๑.๔ การจำแนกประเภทความเสี่ยงภายในโรงพยาบาล
๒. ความเสี่ยงทางคลินิก(Common Clinical Risk)
๓. ความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค(Specific Clinical Risk)
๑. ความเสี่ยงทั่วไป(Non Clinical Risk)
จัดทำโดย นางสาวนฤมล ดีสมจิตร ชั้นปีที่ 3 เลขที่43 (603101043)