Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 แนวทางการใช้อาหารเพื่อป้องกันและบำบัดโรค - Coggle Diagram
บทที่ 4 แนวทางการใช้อาหารเพื่อป้องกันและบำบัดโรค
การประเมินถึงความต้องการพลังงานของผู้ป่วย
basal energy expenditure(BEE)
พลังงานที่น้อยที่สุดที่ ทำให้เกิดกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายก่อนที่จะมีการทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกาย
total energy expenditure(TEE)
ผลรวมของพลังงานทั้งหมดในแต่ละวันซึ่ง รวมถึงBEE+พลังงานที่ใช้ในการย่อยและดูดซึมอาหาร+การใช้พลังงานจากการทำงานของร่างกายในแต่ละวัน+การใช้พลังงานของผู้ป่วยเฉพาะโรค
energy expenditure(EE)
พลังงานที่น้อยที่สุดที่ ทำให้เกิดกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายก่อนที่จะมีการทำงานของอวัยวะต่างๆในร่างกาย
การประเมินด้วย Fick equation
เป็นวิธีการประเมินTEE จาก oxygen consumption ที่คำนวณได้หรือวัดได้ หลังจากการใส่สายSwan-Ganz catheter
การใช้สูตรในการคำนวณหาTEE (predictive equation)
Ireton-Jones equations
ประเมินTEEในผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมาก หรือ มี BMI มากกว่า 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
Estimated factor
เพศชาย = 25-30 กิโลแคลอรี่ต่อน้ำหนักตัว หนึ่งกิโลกรัมต่อวัน
เพศหญิง = 20-25 กิโลแคลอรี่ต่อน้ำหนักตัว หนึ่งกิโลกรัมต่อวัน
Harris-Benedict equation
ใช้น้ำหนัก ความสูง และอายุของผู้ป่วยมาคำนวณ แยกในแต่ละเพศ
การประเมินด้วย indirect calorimetry
ประเมินถึงoxygen consumption และ carbondioxide production ของผู้ป่วยในแต่ละวัน และนำมาคำนวณค่าTEEด้วยWeir equation
ผู้ป่วยติดเชื้อ
คาร์โบไฮเดรตประมาณ 45-65% โปรตีน 10-35% และไขมัน 20-35% ส่วนใยอาหารควรได้รับ 14 g ต่อความต้องการพลังงาน 1000 kcal ต่อวัน
ผู้ป่วยโรคเกาท์
เลือกรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนในปริมาณที่น้อย และหลีกเลี่ยงอาหารกลุ่มที่มีปริมาณสารพิวรีนสูง
ผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง
เลือกดื่มนมพร่องมันเนยหรือนมขาดมันเนย
หลีกเลี่ยงอาหารพวกเนื้อสัตว์ที่ติดมัน
หลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยน้ำมัน
พยายามปรุงอาหารโดยใช้ต้ม นึ่ง ย่าง อบ แทนการทอด หรือผัด
บริโภคปลาทะเล สัปดาห์ละ2-3ครั้ง
เลือกรับประทานเนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ไม่บริโภคเกลือเกิน 6กรัม/วัน หรือเทียบเท่ากับ1 ช้อนชาเศษ
การประเมินโภชนาการในบุคคลที่มีภาวะเจ็บป่วยและเบี่ยงเบน
การประเมินภาวะทางโภชนาการโดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจวัด
การประเมินภาวะทางโภชนาการโดยอาศัยข้อมูลจากตัวบุคคล
ผู้ป่วยไตวาย ไตวายเรื้อรัง
โปรตีนควรได้รับต้องให้ต่ำกว่าคนปกติ คือ ต้องต่ำกว่า0.8 กรัม แต่ต้องไม่ต่ำกว่า 0.6 กรัม/กิโลกรัม
ผู้ป่วยโรคทางเดินระบบอาหาร
โรคท้องผูกชนิดลำไส้บีบตัวมากเกินไป
อาหารที่จัดควรเป็นอาหารรสอ่อน ย่อยง่าย ไม่มีกาก
โรคท้องผูกชนิดลำไส้ไม่บีบรัดตัว
การจัดอาหารต้องเป็นอาหารที่กระตุ้นกล้ามเนื้อที่ผนังลำไส้ใช้เคลื่อนไหว
ผู้ป่วยเบาหวาน
เบาหวาน กับค่าดัชนีน้ำตาลในอาหาร (Glycemic index or GI)
อาหารที่มีค่าดัชนีสูง
ข้าวขัดสี ข้าวเหนียว ขนมปัง(ขาว) ฟักทอง แตงโม
หลักสำคัญ
บริโภคน้ำตาลไม่เกินวันละ 6 ช้อนชา
รับประทานอาหารให้ตรงเวลา รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และหลากหลาย
อาหารที่ค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ
ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีท ผักใบต่างๆ ฝรั่ง ชมพู่ แอปเปิ้ล
ชนิดของน้ำเกลือที่ใช้บ่อย
5% เดกซ์โทรสในนอร์มัลซไลน์
5% เดกซ์โทรส
นอร์มัลซาไลน์
5% เดกซ์โทรสใน 1/3 นอร์มัลซไลน์
สารอาหารในการให้ทางหลอดเลือดดำ
สารอาหารหลัก --> คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
สารอาหารรอง --> วิตามิน แร่ธาตุ อเลคโทรไลต์
น้ำหนักตัวในอุดมคติหรือน้ำหนักมาตรฐาน ideal body weight
ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักลดลงมากกว่าร้อยละ 10 ของ ideal body weight บ่งบอกถึงภาะทุพโภชนาการ