Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
ระยะฟักตัว
ระยะฟักตัวของโรค ตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
ไตรมาสที่ 3 ถ่ายทอดเชื้อไวรัสสู่ทารกได้ร้อยละ 75
ไตรมาสที่ 1-2 จะถ่ายทอดเชื้อไวรัสสู่ทารกได้ร้อยล่ะ 10
:ผลกระทบการติดเชื/อไวรัสตับอักเสบบี
Øเบาหวานในระหว่างตั?งครรภ์
Øการตกเลือดก่อนคลอด
Øการคลอดก่อนกําหนด
Øทารกนํ?าหนักตัวน้อย
อาการและอาการแสดง
–ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
–มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสี เข้ม อุจจาระสี ซีด ปวดข้อ ในรายที่มี อาการรุนแรง อาการตัวเหลือง ตาเหลือง
แนวทางการรรักษา
ก่อนคลอด
: หลีกเลี่ยงการทําสูติการเจาะน้ำคร่ำ : หากปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mL TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง GA 28-32 สัปดาห์
หลังคลอด
: TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้งจนถึง 4 สัปดาห์ หลังคลอด : ติดตามตรวจดูระดับ ALT
HBIG (400IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด- ควรได้รับวัคซีน ภายใน 7วัน และให้ซ้ำภายใน 1 เดือนและ 6 เดือน- HBIG (400IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
รายที่มารดา เป็นพาหะหรือ มีการอักเสบ ของตับเรื้อรัง
Hepatitis B e antigen (HBeAg)
ส่วนประกอบย่อยที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญแปรสภาพของ HBcAg ในกระแสโลหิต พบได ้ เฉพาะบุคคลที่มี HBsAg เป็นบวก เท่านั้น และสามารถติดต่อและแพร่เชื้อได้มากกว่าร้อยละ 50
Hepatitis B surface antigen (HBsAg)
ส่วนที่เป็นเปลือกนอกของไวรัส สามารถแพร่กระจายเชื้อผ่าน ทางเลือด น้ำลาย น้ำตา สารคัดหลั่ง ทางช่องคลอด น้ำอสุจิ น้ำคร่ำ น้ำ ปัสสาวะ
Hepatitis B core antigen (HBcAg)
ส่วนแกนกลางมี DNA ที่มีรูปร่างกลม ตรวจไม่พบในเลือดหรือ สารคัดหลั่งของร่างกาย แต่จะพบในนิวเคลียสตับของสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
Ø Hx.ประวัติการได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
Ø อาการ : ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ตัวตา เหลือง
Ø ส่งตรวจเลือด
Ø ป้องกันการแพร่กระจาย
v Universal Precaution
v ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
v ทารก : Suction ให้เร็ว หมด ทําความสะอาด
Ø BF
Ø คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจำปี
Ø ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การวินิจฉัย
HBeAgเป็นบวก บ่งชี้ว่า HBV viral load สูงสามารถมีการแพร่ กระจายเชื้อไปสู่ทารกได ้
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
-ไข้ต่ำๆ
– Koplik's spot จุดสีเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุงแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพู ขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลง มาตามผิวหนังส่วนอื4นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
“Congenital Rubella Syndrome”
หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติกาสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
2.ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA - IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผื่นขึ้นหรือ ภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น – ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
การรักษาพยาบาล
Ø ในระยะ 3 เดือนแรกแพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ “Therapeutic abortion” รายที่ไม่ต้องยุติการตั้งครรภ์แพทย์อาจพิจารณาฉีดImmunoglobulin.....
แนะนำให้ดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
-ถ้ามีไข้แนะนํารับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
แนะนำให้พักผ่อนให้เพียงพอ
Rubella Virus
–การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อ สารคัด หลั่งจากโพรงจมูกและปาก
–แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
–ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
–ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7 วันก่อนผื่นขึ้น จนถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น
โรคเริมทีอวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
ซิฟิลิส (Syphilis)