Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติความเป็นมา และระบบการจัดการศึกษาไทย - Coggle Diagram
ประวัติความเป็นมา และระบบการจัดการศึกษาไทย
การศึกษาสมัยโบราณ
สมัยกรุงสุโขทัย(พ.ศ. 1781-1921)
1.) วิชาความรู้สามัญในช่วงต้นสุโขทัยสันนิษฐานว่าใช้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการศึกษา
2.) มีการเรียนภาษาไทยขึ้น หลังจากที่พ่อขุนรามค าแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้เมื่อ พ.ศ. 1826
3.) วิชาชีพ เรียนกันตามแบบอย่างบรรพบุรุษ
4.) วิชาจริยศึกษา สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ การรู้จักกตัญญูรู้คุณ การรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม และการรู้จักท าบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่างเข้าพรรษา
5.) วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ใช้เป็นพาหนะในการออกศึก และต าราพิชัยยุทธ
สมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น(พ.ศ. 2311-2411)
วิชาที่สอน ธรรมะ การแต่งโคลงกลอน นาฏศิลป์
การพลศึกษา การฝึกอาวุธ
สถานศึกษาในสมัยกรุงธนบุรี คือ บ้าน,สำนักสงฆ์,พระราชสำนัก
การจัดการเรียนการสอน ไม่เน้นด้านการรู้หนังสือแต่เน้นด้านศิลปะการแสดง
หลักฐานทางการศึกษา ตำราเท่าที่เหลือ รามเกียรติ์บางตอน อิเหนาคำฉันท์
สมัยกรุงศรีอยุธยา(พ.ศ. 1893-2310)
1.) วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่านเขียนเลข ใช้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี
2.) วิชาชีพ เรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สำหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แกะสลัก และช่างฝีมือต่างๆ ที่พระสงฆ์เป็นผู้สอนให้ ส่วนเด็กผู้หญิงเรียนรู้การบ้านการเรือนจากพ่อแม่ สมัยต่อมาหลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมีการเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น ดาราศาสตร์ การทำน้ าประปา การทำปืน การพาณิชย์ แพทยศาสตร์ ตำรายา การก่อสร้าง ตำราอาหารเป็นต้น
3.) ด้านอักษรศาสตร์ มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ มีวรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น สมุทรโฆษคำฉันท์ กำสรวลศรีปราชญ์
อีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน
4.) วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนา เช่น มีการกำหนดให้ผู้ชายที่เข้ารับราชการทุกคนจะต้องเคยบวชเรียนมาแล้ว เกิดประเพณีการอุปสมบทเมื่ออายุครบ 20 ปี
วิวัฒนาการของการศึกษาไทยแบ่งออกเป็น 5 ช่วงดังนี้
4) การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 3 พ.ศ. 2542 : การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
5) การศึกษาไทยสู่อาเซียนและประชาคมโลก
3) การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 2 หลังเหตุการณ์มหาวิปโยค 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 : ความเสมอภาค
ทางการศึกษา
2) การปฏิรูปการศึกษาช่วงที่ 1 พ.ศ. 2411–2468 รัชกาลที่ 5 การปฏิรูปและการพัฒนาระบบ
1) การศึกษาสมัยโบราณ สมัยกรุงสุโขทัย สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี และสมัย กรุง
รัตนโกสินทร์
ความสำคัญของระบบการศึกษา
ความสำคัญต่อเศรษฐกิจ
การศึกษาเป็นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า เป็นการสะสมทุนมนุษย์ซึ่งจะส่งผลต่การพัฒนา, การสะสมทุนสังคม, การสร้างความมั่นคง, ความเท่าเทียมกันในด้านสถานะและรายได้อ
ปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นปัจจัยหลักที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาโดยตรง เพราะการศึกษาเป็นการลดทุนทั้งภาครัฐและเอกชน
เศรษฐกิจของประเทศเป็นเครื่องบ่งชี้ว่ารัฐจะสามารถลงทุนทางการศึกษาได้มากน้อยเพียงใด
ความสำคัญต่อบุคคล
ช่วยพัฒนาคนให้มีความรู้ความสามารถเสริมสร้างสติปัญญา เป็นแนวทางในการเลี้ยงชีพที่สุจริต
เป็นพลเมือง ที่มีประสิทธิภาพของประเทศ
สร้างคนให้มีความรู้ความสามารถมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็น มีลักษณะนิสัยจิตใจที่ดีงาม
มีความพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อตนเอง และสังคม
ช่วยให้คนเจริญงอกงามทางสติปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคม
ความสำคัญต่อการเมือง
การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ, การกำหนดนโยบาย และการควบคุมดูแล ดังนั้นการเมืองมีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษาโดยตรง
การศึกษาเป็นเครื่องมือของรัฐในการพัฒนาประเทศ ผู้มีอำนาจจึงเป็นผู้ชี้ นำการใช้หลักการ ปรัชญา แนวคิด
ความสำคัญต่อสังคม
การศึกษาเป็นตัวการสำคัญ ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม จะมีอิทธิพลต่อการกำหนดรูปแบบหรือระบบการศึกษา ในสังคมได้เช่นเดียวกัน
การศึกษาเป็นเครื่องมือหรือเทคนิคให้คนมีเป้าหมายด้วยความตั้งใจ และรู้ตัวอยู่ตลอดเวลาเมื่อเป้าหมายเปลี่ยนแปลง
การศึกษาก็จะเปลี่ยนตามองค์ประกอบปัจจัยทางสังคมต่อการศึกษา
การศึกษาไทยสู่อาเซียนและประชาคมโลก
การพัฒนามาตรฐานการศึกษาไทยให้ก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน ต้องพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยให้มีศักยภาพและยั่งยืน
พร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกอย่างมั่นใจ
ทุกภาคส่วนในสังคมต้องผสานความร่วมมือขับเคลื่อนการศึกษาไทย ให้ก้าวไปสู่เวทีโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ