Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
Passenger
Malpresentation (ส่วนนำผิดปกติ)
ท่าก้น (Breech Presentation)
นักศึกษาเรียนในหัวข้อ สูติศาสตร์หัตถการ
ท่าขวาง (Presentation)
ความหมาย
แนวลำตัวของทารกขวางอยู่กับแนวลำตัว
ของผู้คลอด จึงเรียกว่า transverse lie มีส่วนนำเป็ นไหล่เข้าไปในช่องเชิงกราน
สาเหตุ
พบในผู้คลอดครรภ์หลังได้บ่อยกว่าครรภ์แรก
คลอดก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ
มดลูกผิดปกติ
เชิงกรานแคบ
การดำเนินการคลอด
ในทารกที่ครบกำหนดคลอดและอยู่ในท่าขวางจะไม่สามารถคลอดเองทาง
ช่องคลอดได้
เมื่อการคลอดยังดำเนินต่อไป lower segment จะบางลง
เรื่อยๆ เรียกว่า neglected transverse lie ถ้าไม่ได้รับการช่วยคลอดมดลูกจะแตกได้
อันตรายต่อผู้คลอด
ติดเชื้อ
มดลูกแตก
ถ้าต้องผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
อันตรายต่อทารก
ทารกตายในครรภ์
Malposition
ท่าท้ายทอยเฉียงหลัง (Occiput posterior position)
ความหมาย
ทารกที่มียอดศีรษะ หรือขม่อมหน้าเป็นส่วนนำ
และมีท้ายทอยอยู่เฉียงไปด้านหลังของช่องเชิงกราน มักพบเป็นท่า ROP
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
สาเหตุเสริม
เชิงกรานรูปหัวใจ (android) หรือรูปไข่ (anthropoid)
ผนังหน้าท้องของผู้คลอดหย่อน มดลูกและทารกเอนมาด้านหน้า
ศีรษะทารกอยู่ในทรงเงย (deflexion attitude)
มีสิ่งขัดขวางการหมุนของศีรษะทารก
ศีีรษะทารกไม่กระชับกับพื้นเชิงกราน
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือแรงเบ่งน้อย
การดำเนินการคลอด
ท้ายทอยหมุนไปข้างหน้า 135 องศา
การหมุนลักษณะนี้จะใช้เวลานานกว่าปกติมดลูกต้องหด
รัดตัวดี และทารกจะคลอดออกมาในท่าปกติ โดยคลอดเอง หรืออาจใช้เครื่องมือช่วยคลอด
ท้ายทอยหมุนไปข้างหน้า 45 องศา
เป็นท่า Right Occiput Lateral (ROL) เรียกว่า “ท่าศีรษะ
ขวางต่ำ”
ท้ายทอยหมุนไปข้างหลัง 45 องศา
ลักษณะการหมุนแบบนี้พบไดร้อยละ10 มักพบในรายที่ศีรษะทารกก้มไม่ได้เต็มที่ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี แรงเบ่งน้อย ทารกตัวเล็ก ช่องหลังเชิงกรานกว้างมาก
ท่าท้ายทอยคงอยู่ข้าง(persistent occipito transverse position)
ความหมาย
ท่าที่มีรอยต่อแสกกลางของศีรษะทารกอยู่ในแนวขวาง ทา้ยทอยอยู่ด้านข้างแล้วคงอยู่เช่นนี้ ไม่มีการหมุนต่อไป
เป็นเวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
สาเหตุ
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดีในระยะหลัง ทำให้ขาดแรงผลักดันที่จะทำให้ศีรษะทารกหมุนเคลื่อนผ่าน ischial spine ลงไป
เส้นผ่าศูนย์กลางขวางแคบกว่าปกติ ใน android pelvis
การดำเนินการคลอด
ถ้าศีรษะทารกมีขนาดปกติจะไม่สามารถคลอดผ่านแนวขวางของช่องเชิง
กรานได้ ถ้าศีรษะยังขวางอยู่ทำให้การคลอดติดขัด การคลอดจะดำเนินไปได้เอง แต่ส่วนใหญ่มักต้องช่วยคลอด โดยใช้คีมหรือเครื่องดูดสุญญากาศ
อันตรายต่อผู้คลอดและทารก
ผู้คลอดมีอาการปวดบริเวณหลังและเอวมาก
ผู้คลอดมีลมเบ่งเกิดขึ้นในระยะที่ปากมดลูกเปิดน้อย
ผนังช่องคลอดด้านหลังและฝี เย็บมีการยืดขยายและฉีกขาดมาก
ปากมดลูกบวมช้า และอาจฉีกขาดได้เกิดจากศีรษะทารกมากดอยู่นาน
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจนจากการคลอดยาวนาน และเกิดการบาดเจ็บจากการคลอดได้อันตรายต่อผู้คลอดและทารก
การรักษา
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด และติดตามอาการของผู้คลอดและทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ถ้าพบเหตุที่ทำให้คลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ต้องทำผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
ถ้าไม่พบเหตุที่ทำให้เป็นอันตรายต่อการคลอดทางช่องคลอดให้เฝ้าดูการเจ็บครรภ์คลอดอย่างใกล้ชิด
ให้สารละลายเด็กซโทรส 10% ทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาลดอาการเจ็บครรภ์ และยาระงับประสาท
ปากมดลูกเปิดช้า ถ้าเป็นผลจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ต้องให้ออกซิโทซินหยดเข้าทางหลอดเลือดดำ
ท่าท้ายทอยคงอยู่หลัง (Occiput Persistent Posterior : OPP)
ความหมาย
พบว่าท้ายทอยไม่สามารถหมุนไปข้างหน้าได้
ทารกจะคลอดโดยหงายหน้าออกมา ทารกอาจอยู่ในทรงคว่ำเต็มที่หรือทรงเงยเล็กน้อยได้
สาเหตุ
มีสิ่งกีดขวางการหมุนของท้ายทอยไปข้างหน้า
เชิงกรานรูปหัวใจและรูปไข่ตั้ง
ศีรษะทารกเล็ก หรือใหญ่กว่าปกติ
พื้นเชิงกรานหย่อนผิดปกติ
การดำเนินการคลอด
ศีรษะทารกอยู่ในทรงเงยเล็กน้อย (mild deflexion of the head)
ศีรษะทารกอยู่ในทรงคว่ำเต็มที่ (full flexion of head)
Anomalies oF fetus (ทารกในครรภ์ผิดปกติ)
ทารกหัวบาตร(hydrocephalus)
ความหมาย
ทารกหัวบาตร หรือมีการคั่งของน้ำหล่อไขสันหลังใน ventricles มากเกินไป และทำให้ขนาดของศีรษะทารกใหญ่ผิดปกติ มักมีความสัมพันธ์กับความผิดปกติอื่นคือ spina bifida ร่วมด้วยถึง 1/3 ท้องทารกมีขนาดใหญ่
สาเหตุ
ท้องมานน้ำ
กระเพาะปัสสาวะโป่งมาก(ความพิการของท่อทางเดินปัสสาวะ)
เนื้องอกขนาดใหญ่ของไตหรือตับ
ทารกบวมน้ำ
แฝดติดกัน(Conjoined Twins)
แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
การแยกของทารกส่วนของครึ่งบน หรือครึ่งล่างของร่างกายไม่เป็นไปอย่างสมบูรณ์ เช่น ทารกที่เป็นหนึ่งคนแต่มีสองหัว หรือสองตัว
แฝดที่มีส่วนติดกันที่ส่วนบน หรือส่วนล่างของร่างกาย
แฝดติดกันที่ส่วนของลำตัว
ทารกที่ขนาดตัวโต(macrosomia)
ความหมาย
ทารกที่มีขนาดตัวโตมากเกินไป น้ำหนักมากกว่า 4000 กรัม
สาเหตุ
บิดามารดาตัวโต
มารดาที่เป็นเบาหวาน
มารดาอ้วน
มารดาที่น้ำหนักเพิ่มมากในขณะตั้งครรภ์
ครรภ์เกินกำหนด
Psychological
ทศันคติต่อการคลอด
การคลอดนั้นเต็มไปด้วยอันตรายอาจถึงตายได้
การคลอดทำให้เกิดความเจ็บปวดรุนแรง
สาเหตุ
มีประสบการณ์ที่ไม่ดีในการคลอดที่ผ่านมา
การรับรู้ต่อปัญหาของตนเองไม่ถูกต้อง
รูปแบบการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
อันตรายต่อมารดาและทารก
ทำให้เกิดการคลอดยาวนาน เนื่องจากความกลัว
ความวิตกกังวล และ
ความเครียดทำให้การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
การรักษา
มารดาที่เจ็บปวดมาก ควรได้รับยาแก้ปวด เพื่อไม่ให้เกิดกลุ่มอาการ fear-tension-pain syndrome
มารดาที่อ่อนเพลียขาดน้ำ ควรไดรับสารน้ำอย่างเพียงพอ
มารดาที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ควรได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเพื่อลดระยะเวลาของการคลอด และช่วยลดความวิตกกังวลจากการคลอด
Passege
Pelvic inlet (ช่องเข้าเชิงกราน)
ลักษณะ
เป็นรูปรีตามขวาง
มีขอบเขตด้านหน้าเป็นขอบบนของกระดูกหัวเหน่า ด้านข้างเป็น linea terminalis ด้านหลังเป็น promontary of sacrum
มีเส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวขวาง ยาที่สุดประมาณ 13 เซนติเมตร
Diagonal conjugate 11.5 cms.
ทางเข้าเชิงกรานแคบ (Inret contraction)
A-P diameter
น้อยกว่า 10 cms.
ปกติ 10.5 cms.
Tranverse diameter
น้อยกว่า 12 cms.
ปกติ 13.5 cms
obstetric conjugate
น้อยกว่า 10 cms.
ปกติ 12 cms
Diagonal conjugate
น้อยกว่า 11.5 cms.
การประเมิน
ตรวจทางหน้าท้อง
ดันยอดมดลูกจะพบว่าศีรษะทารกเกยติดที่ SP.
In laber ศีรษะไม่มีการ Engagement โดยเฉพาะ G1
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ : ก้น หน้า
การตรวจช่องคลอด
วัด Diagonal conjugate น้อยกว่า 11.5 cms.
วัดได้ขอบ 2 ข้างของ Pelvic inlet :warning: Transverse diameterสั้น
ไม่มีการเคลื่อนลงของศีรษะทารก เมื่อดันยอดมดลูก
X-ray
Ultrasound
การดูแล
Trial labor
ศีรษะทารกมีการก้มเต็มที่
ศีรษะทารกมีการตะเเคง
มดลูกหดรัดตัวปกติดี
เชิงกรานชนิด Gynecoid
ศีรษะทารกมีขนาดเล็ก
ปากมดลูกเปิดขยายตามปกติ
เคยผ่านการคลอดทางช่องคลอด
ไม่มีโรคแทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูง
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
Mid Pelvis ช่องภายในเชิงกราน
ลักษณะ
เป็นท้อโค้งค่อนข้างกลม
ขอบเขตจากจุดกึ่งกลางของกระดูกหัวเหน่า ถึงรอยต่อระหว่างกระดูก sacrum ท่อนที่ 4,5 ด้านข้างเป็น ischial spines
เส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวขวางแคบ (tranverse diameter ปกติยาวประมาณ 10 cm.)
ช่องเชิงกรานแคบ Contranted midpelvis)
Intercpinous diameter น้อยกว่า 9 cms. (ปกติ 10.5 cms.)
ผลบวกของ Intercpinous diameter และ post sagittal diameter น้อยกว่า 13.5 cms. (ปกติ 15.5 cms.)
การประเมิน
Ischial spnes นูนเด่น
ด้านข้างของเชิงกรานสอบนูนเข้าหากัน
Sacrosciatic notch แคบ
Intertuberous diameter ร่วมด้วย
มี Inlet contraction ร่วมด้วย
มักพบมีการหยุดชะงัก การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การดูแล
ไม่ควรใช้ Oxytocin
V/E ดีกว่า F/E
แคบมากเด็กหัวโต C/S
Interspinous diameter 9.5 cm.
Pelvic outlet (ช่องออกเชิงกราน)
Biischial diameter 8 cms./Pelvic arch angle 80 degree
ลักษณะ
รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
มีขอบเขตด้านกน้าเป็นขอบล่างของกระดูกหัวเหน่า ด้านหลังจรดปลายกระดูกก้นกบ
ด้านข้างเป็น ischial tuderosity
มีเส้นผ่าศูนยกลางตามแนวหน้าหลัง ยาวที่สุดประมาณ 11.5 cm.
ช่องออกเชิงกรานแคบ (Contracted pelvic outlet
Pelvic arch angie 80 degree
Intertuberous น้อยกว่า 8 cms. (ปกติ 10 cms.)
การพยาบาล
ใช้หัตถการช่วยคลอด
Soft Passage
ได้แก่
กล้ามดนื้ออุ้งเชิงกราน
ฝีเย็บ
สาเหตุ
ปากมดลูกผิดปกติ เช่น ตีบตัน แข็ง ไม่ยืดหยุ่น เกิดจาก หูดหงอนไก่
ช่องคลอดผิดปกติ เช่น ตีและเเคบมาตั้งแต่กำเนิด ประวัติผ่าตัดและพังผืด
เนื้องอกของมดลูก มีถุงน้ำที่รังไข่ มะเร็งปากมดลูก
ปากช่องคลอดเเละฝีเย็บผิดปกติ เช่น แข็งและไม่ยืด
ตำแหน่งมดลูกผิดปกติ
ปากมดลูกบวม
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
การดูแล
การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การขยายช่องทางคลอด
การเสริมการหดรัดตัวของมดลูก