Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการ, เนตรทอง นามพรม. (2553). Esophageal…
การพยาบาลทารกและเด็กที่มีความพิการ
ปากแหว่งเพดานโหว่ (Cleft-Lip,Cleft-Palate)
ควาหมาย
ปาแหว่ง คือผิดปกติที่ริมฝีปาก เพดานแยกออกจากกัน
เพดานโหว่ คือเพดานส่วนหลังเจริญเป็นเพดานแข็ง และเพดานหลังต่อช่องโหว่
การวินิจฉัย
ตรวจได้เมื่อครรภ์อายุ13-14สัปดาห์
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายโดยสอดนิ้วตรวจภายใน
อาการและอาการแสดง
ท้องอืดเนื่องจากไม่สามารถดูดนมได้สนิท ทำให้ลมเข้าไปเกิดท้องอืด
เกิดการสำลัก พูดไม่ชัด
หายใจลำบาก
ติดเชื้อในหูชั้นกลาง
การรักษา
โดยการผ่าตัด
หลักการ
อาจทำใน48ชม.ในรายที่สมบูรณ์ หรืออายุประมาณ8-12สัปดาห์
กฎ10 คือผ่าตัดเมื่ออายุ10สัปดาห์ขึ้นไป น้ำหนักตัว10ปอนด์ ฮีโมโกลบิน 10กรัมเปอร์เซ็นต์ขึ้นไป
การผ่าตัด
การผ่าตัดปากแหว่งด้านซ้าย Triangular Flap
ผ่าตัดปากแหว่งด้านขวา Rotation Advancement Method
ผ่าตัดปากแหว่งทั้ง 2 ด้านStraight Line Repair
ขั้นตอนการผ่าตัด
แพทย์จะปรึกษาทันตแพทย์ เพื่อใส่เพดานเทียม เปลี่ยนทุก1เดือน
ขั้นตอนต่อมา ผ่าตัดเพดานก่อนเด็กเริ่มพูด6-18เดือน แข็งแรง
ผ่าตัดแก้ไขจมูก ทำเมื่อ3ปี ตามด้วยการฝีกพูด
เมื่ออายุ5ปี ทันตแพทย์จะดัดฟันให้
และรักษาความผิดปกติที่เหลือ
การพยาบาล
การพยาบาลหลังผ่าตัด
การพยาบาลหลังผ่าตัดcleft lip
ระมัดระวังไม่ให้แผลผ่าตัดดึงรั้ง
ระมัดระวังสิ่งคัดหลั่งจากจมูกมาปนเปื้อนแผลผ่าตัด
สอนบิดา มารดา ทำความสะอาดแผล
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง
สังเกตอาการออกเสียงขึ้นจมูกและอาการสำลักอาหารจากปากเข้าจมูก
ห้ามอ้าปากทารกกว้างๆเพื่อป้องกันแผลแยก
ห้ามดูดเสมหะในช่องปาก
หลีกเลี่ยงการนำของแข็งหรือของที่มีความแหลมคมเข้าปาก
เสี่ยงต่อการหายใจไม่มีประสิทธิภาพหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
สังเกตอาการบวมของแผลผ่าตัด/โพรงจมูกทั้งสองข้าง
ประเมินการหายใจเสียงหายใจ
จัดท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน
กรณีมีเสมหะ ดูดเสมหะด้วยความนุ่มนวล
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
การดูแลหลังผ่าตัดเพดานโหว่ถึงออายุ4-5ปี
งด ดูด เป่า ประมาณ 3 – 4 สัปดาห์
ผู้ป่วยควรได้รับการสอนฝึกพูดเสมอและได้รับการฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ
อายุประมาณ 2 ปีครึ่ง - 3 ขวบ แพทย์จะพิจารณาผ่าตัดแก้ไข
อายุประมาณ 4-5 ปี ส่งท า Nasendoscope โดย แพทย์ ENTร่วมกับ speech
therapist
ตอบคำถาม
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินหายใจ /หูชั้นกลาง / การอุดกั้นทางเดินหายใจจาก
การสำลัก
ดูแลให้นมอย่างถูกวิธี
ขณะให้อาหารจัดท่าศีรษะสูงประมาณ 30-45
ใช้ Artificial nipple จุกนมต้องยาว รูออกของนheนมจะต้องใหญ่กว่าปกติเล็กน้อย
ถ้าเด็กดูดไม่ได้ใช้ช้อนป้อน / หลอดหยด
ดูดครั้งละน้อยๆ บ่อยครั้ง ใส่เพดานเทียมก่อนให้ดูดนม
จับไล่ลมเป็นระยะๆทุก 15-30 มิลลิลิตรเสมอ หลังให้นมนอนศีรษะสูง 30 องศาตะแคงขวา
ป้อนน้ำตามทุกครั้งและทำความสะอาดช่องปากเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
การใส่ NG tube จะเป็นทางเลือกสุดท้าย กรณีที่เด็กมีปัญหาไม่สามารถ feed ได้ด้วยวิธีอื่นๆ
รักษาความสะอาดช่องปาก
เตรียมลูกยางแดงสำหรับดูดเสมหะไว้ข้างเตียง
สังเกตอาการ หายใจผิดปกติ ไอ ไข้
ชั่งน้ำหนักทารกวันละครั้ง
ถ้าน้ำหนักไม่ขึ้น ได้รับนมไม่เพียงพอ รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาใส่สายให้อาหาร
2.การผ่าตัดปากแหว่งควรทำเมื่อใด/การผ่าตัดเพดานโหว่ควรทำเมื่อใด
เพดานโหว่ผ่าตัดตอนอายุ3ปี
ปากแหว่งผ่าตัดตอนอายุ8-12สัปดาห์
3.หลังผ่าตัด การดูแลเพื่อป้องกันแผลแยกทำอย่างไร
ล้างมือให้สะอาดก่อนและหลังดูแลผู้ปjวย
ผูกยึดข้อศอกทั้งสองข้าง (elbow restraint) ไม่ให้งอประมาณ 2-6 สัปดาห์ คลายทุก10-15นาที
สอนผู้ดูแลเกี่ยวกับการผูกยึดข้อศอก
งดใส่สายยางดูดเสมหะเข้าช่องปาก
ไม่ให้ดูดนม 1 เดือน การให้นมโดยใช้ช้อน หลอดหยด syring
ใส่ logan bow จนกว่าแผลจะติดดี
สังเกตอาการแผลมีเลือดออก
หากร้องไห้ ปลอบโยนให้ทำให้สงบโดยเร็ว
ทำความสะอาดแผลเย็บปากแหว่งด้วย NSS ป้ายด้วยยาปฏิชีวนะ
ให้น้้ำตามหลังให้อาหารเหลวทุกครั้ง
ดูแลไม่ให้เด็กติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
สังเกตการติดเชื้อ
4.หลังผ่าตัดทารกควรนอนท่าใด
จัดท่านอนหงายหรือตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง ห้ามนอนคว่ำ
5.หลังผ่าตัดทารกควรดูดนมเมื่อใด
หลังผ่าตัด1เดือน
หลอดอาหารตีบ รั่ว ตัน (Esophageal stenosis/fistula/atresia)
อาการและอาการแสดงของโรค
ทารกแรกเกิด น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอา
อาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การรักษา
ระยะแรก
Gastostomy
ระยะสอง
Esophagogram
Try oral feeding
Off Gastrostomy tube
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบหายใจลำบากหรือหยุดหายใจเนื่องจากสำลักน้ำลาย
จัดท่านอนที่เหมาะสม
พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ
on NG tube ต่อ Continuous suction
ให้ออกซิเจนกรณีมีภาวะพร่องออกซิเจน
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
อาจได้รับสารน้ำและสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ดูแลให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
การวินิจฉัยปัญหาและการพยาบาล
อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดต่อหลอดอาหาร(แผลแยก)
ห้ามใส่สายNG tubeหรือนอนเหยียดคอ
กระตุ้นให้เด็กร้องบ่อยๆ
ดูแลการทำงานของICD
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำและยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การพยาบาลหลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของท่อระบายทรวงอก
จัดท่านอนศีรษะสูง
ตรวจสอบการทำงานของICD
ระวังสายหักพับงอ
บันทึก ลักษณะ สี จำนวนของ discharge
อาจเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัดและแผล Gastrostomy
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ทำแผลอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
สังเกตการติดเชื้อ
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ตอบคำถาม
1.อาการอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารตีบคืออะไร
น้ำลายไหลมาก อาเจียน ไอ สำลัก เอา
อาหารและเมือกเข้าสู่ทางเดินหายใจ
2.อาการอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าหลอดอาหารมีรูรั่วคืออะไร
พบอากาศในหระเพาะอาหาร
3.การให้นม TE fistula ทำอย่างไร
ดูดเสมหะอย่างนุ่มนวล ใส่สายยางไม่ลึกเกินกว่าที่แพทย์กำหนด ระมัดระวังการทำกายภาพบำบัดทรวงอก
รายที่แพทย์คาสายยางไม่ว่าจะเป็นชนิดใด พยายามอย่าให้ หลุด ถ้าหลุดรีบรายงานแพทย์ทราบ ไม่ใส่กลับเข้าไปใหม่เอง
ถ้าเริ่มให้น้ำหรือนมทางสายยาง ต้องให้แบบช้าๆ ให้เสร็จแล้ว แขวนปลาย tube อยู่สูงกว่าลำตัวและเปิดปลาย tubeไว้
ขณะให้น้ำหรือนม ต้องยกศีรษะสูงเสมอ
นอนยกศีรษะสูง 45 ํ- 60 ํ ไม่ให้เงยหน้ามากเกินไป [hyperextension]
4.การดูแล Gastrostomy ทำอย่างไร
1.ทำความสะอาดสายให้อาหารด้านนอกและข้อต่อด้วยสบู่และน้ำสะอาด ส่วนสายสวนชนิดระดับผิวหนังใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำสะอาดเช็ด
2.ไม่ควรหักหรือพับงอสายให้อาหารนานเกินไป อาจทำให้สายแตกหักหรือพับงอ ทำให้เกิดการอุดตันได้
3.กรณีใช้สายให้อาหารทางหน้าท้องชนิดลูกโป่ง ควรหมั่นตรวจสอบว่าตำแหน่งของสายที่ระดับผิวหนังอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง เนื่องจากสายอาจเลื่อนเข้าไปในกระเพาะมากเกินไป
4.ต้องดูแลให้ระดับบ่าท่อที่อยู่ทางหน้าท้องอยู่ที่ขีด 6 เซนติเมตร และควรหมุนตัวสายทุก 2 - 3 วัน เพื่อป้องกันการฝังตัวของหัวเปิดในช่องกระเพาะอาหาร
5.ไม่ควรใช้อาหารที่มีความร้อนเพราะจะทำให้อายุการใช้งานน้อยลง ซึ่งปกติจะใช้ได้นาน 6 - 8 เดือน
Anorectal malformation
ความหมาย
ไม่มีรูทวาร
รูทวารกำเนิดผิดที่
พยาธิสภาพ
ทารกมีอาการท้องผูก /ถ่ายอุจจาระล าบาก/หรือไม่ถ่ายอุจจาระ
ชนิดความผิดปกติ
Anal stenosis ทวารหนักตีบแคบ
Imperforate anal membrane เยื่อบางๆกั้นรูทวารหนัก
Anal agenesis
Low type
Intermediate type
High type
Rectal atresia ลำไส้ตรงตีบตัน
การรักษา
ความผิดปกติ low type มีการรักษา 3 วิธี
การถ่างขยายทวารหนัก โดยใช้ hegar metal dilators โดยใช้เบอร์ 9-10 mm
การผ่าตัด anal membrane ออกในรายที่สังเกตเห็นขี้เทาทางทวารหนัก
การผ่าตัดตบแต่งทวารหนัก (anoplasty) เมื่อแผลผ่าตัดติดเรียบร้อยแล้วประมาณ 10 วัน ถ่างขยายทวารหนักต่อ
ความผิดปกติ intermediate และ high
การทำทวารหนักเทียมทางหน้าท้อง
การผ่าตัดตบแต่งทวาร (anoplasty)
การผ่าตัดปิดทวารเทียมทางหน้าท้อง
ความสัมพันธ์ อายุกับ hegar metal dilator
1-3เดือน เบอร์12
4-8เดือน เบอร์13
9-12 เบอร์14
1-3ปี เบอร์15
4-14ปี เบอร์16
14ปีขึ้นไป เบอร์17
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนและหลังผ่าตัดตกแต่งทวารหนัก (anoplasty)
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผลผ่าตัดทวารหนัก
ทำความสะอาดบริเวณแผลผ่าตัดรูทวารหนัก 8-10 วันตามแผนการรักษา
หลังผ่าตัด 3-4 วันหลังถอดสายสวนปัสสาวะ ให้แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ดูแลความสะอาดผิวหนังรอบๆทวารหนักด้วยน้ำ
สังเกตการติดเชื้อ ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
บิดา มารดา ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลแผลผ่าตัดบริเวณทวารหนัก
ให้คำแนะนำระยะหลังผ่าตัด 7-10 วันไม่ให้นอนกางขา หรือนั่ง
ให้ความรู้การถ่างขยายทวารหนักและประเมินความรู้
แนะนำให้สังเกต ตำแหน่งการถ่ายอุจจาระ อาการท้องผูก
ให้กำลังใจบิดา มารดา
ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การถ่างขยายรูทวารหนักสม่ำเสมอ
สอนทำความสะอาดเทียนไข ทวารหนัก
ให้ความรู้ปูองกันท้องผูก
กรณีถ่ายอุจจาระเหลว ให้ยาที่ทำให้อุจจาระเป็นก้อน
สังเกตการตีบแคบของทวารหนัก
ฝึกขับถ่าย
การมาตรวจตามนัด
ปัญหาที่อาจพบหลังผ่าตัด
ทวารหนักตีบจากกลไกการหดรั้งตัวของแผล
ท้องผูก
กลั้นอุจจาระไม่ได้
ตอบคำถาม
1.สังเกตการไม่มีรูทวารหนักทารกหลังคลอดอย่างไร
อาการและอาการแสดง
ไม่มีการถ่ายขี้เทา ภายใน 24 ชั่วโมง "ขี้เทา"
ไม่พบรูเปิดทางทวารหนักหรือพบเพียงรอยช่องเปิดของทวารหนักเท่านั้น
ไม่มีเสียงเคลื่อนไหวของลำไส้
กระสับกระส่าย อืดอัด ไม่สบายเนื้อสบายตัว
แน่นท้อง ท้องอืด
ปวดเบ่งอุจจาระ
ตรวจพบมีกากอาหารค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร
2.การดูแล colostomy ทำอย่างไร
การดูแลcolostomy
ทำความสะอาดด้วยน้ำเกลือล้างแผล
เลือกขนาดของปากถุง ให้ครอบปิดกระชับ
กรณีมีการรั่วซึมต้องเปลี่ยนถุงใหม่
ทิ้งอุจจาระถ้ามีปริมาณอุจจาระในถุง 1⁄4-1/3 ของถุง
สังเกตการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังรอบๆทวารเทียม
แนะนำอาหารย่อยง่ายมีโปรตีนสูง
สังเกตและบันทึกอุจจาระ
สังเกตภาวะแทรกซ้อนของทวารเทียม
แนะนำการมาตรวจตามนัด
อายุที่เหมาะสมในการฝึกการขับถ่าย
การฝึกขับถ่ายอุจจาระเมื่ออายุ 18-24 เดือน
หลังผ่าตัดทำทวารหนัก ป้องกันการตีบแคบได้อย่างไร
การถ่างขยาย การฝึกอุปนิสัย
การขับถ่าย การให้ยาเพื่อปรับสภาพอุจจาระ
วิธีการฝึกการควบคุมกล้ามเนื้อช่วยในการขับถ่ายทำอย่างไร
เช่น ฝึกหนีบลูกบอล ออกกำลังกายโดยการวิ่ง หรือว่ายน้ำ
กล้ามเนื้อข้างเคียง
ฝึกฝนการกลั้นอุจจาระเพื่อให้เด็กใช้กล้ามเนื้อที่มีอยู่อย่างเต็มที่
Omphalocele/ Gastroschisis
การวินิจฉัย/อาการ/อาการแสดง
ตรวจultrasound อายุครรภ์ 10 สัปดาห์สามารถตรวจพบถุง membrane
หลังคลอดพบผนังหน้าท้องซึ่งมักจะอยู่ขวาต่อสายสะดือเป็นช่องโหว่
เด็กอาจตัวเล็ก
ทำให้มีอาการติดเชื้อ
อุณหภูมิกายต่ำ เด็กตัวเย็น
malrotation,intestinal atresia
การผ่าตัดปิดหน้าท้องเป็นขั้นตอน
แพทย์ทำถุงให้ลำไส้อยู่ชั่วคราว แล้วค่อยๆ บีบถุงไล่ลำไส้กลับเข้าช่องท้อง
ซึ่งมักจะใช้เวลาประมาณ 5 วัน และมักไม่เกิน 7 วัน
การพยาบาล
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด
keep warm
ระวังการ contaminate
พยายามปั้นประคองกระจุกลำไส้ให้ตั้ง
ดูแลให้สารน้้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้ systemic antibiotics
การพยาบาลในขณะรอการผ่าตัดเย็บปิดผนังหน้าท้อง
keep warm
ประคองลำไส้ไม่ให้พับตกลงมาข้างๆตัวได้
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
ดูแลให้ได้รับสารน้ าทางหลอดเลือดดำ
การรักษาในระยะหลังผ่าตัด
ดูแลเด็กที่ได้รับการรักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจประมาณ 24-48 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารตามแผนการรักษา
ติดตามการทำงานของลำไส้ ฟัง bowl sound
สังเกตอาการระวังการเกิดAbdominal compartment syndrome
ตอบคำถาม
Gastroschisis กับ Omphalocele แตกต่างกันอย่างไร
Omphalocele ผนังหน้าท้องพัฒนาไม่สมบูรณ์ มีเยื่อหุ้ม
gastroschisis ผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ ไม่มีเยื่อหุ้ม
เด็กดูแลในระยะดันลำไส้กลับในช่องท้องเด็กต้องจัดท่านอนอย่างไร เพราะเหตุใด
นอนตะแคงข้างเพื่อลดโอกาสที่เลือดจะมาเลี้ยงลำไส้ไม่สะดวก
การฟัง bowl sound หลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
เพื่อประเมินว่าลำไส้มีการอุดตันหรือไม่
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดปิดผนังหน้าท้องเด็ก ต้องระวังภาวะใด มีอาการและอาการแสดงอย่างไร
Abdominal compartment syndrome
ท้องอืดอย่างรุนแรง ปัสสาวะออกน้อยลง central venous pressure สูงขึ้น ความดันในช่องอกสูงขึ้น
รูเปิดท่อ ปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าปกติ
(hypospadias)
ผลกระทบ
ปัสสาวะไม่พุ่งไปข้างหน้า
องคชาตงอเมื่อเข็งตัว
องคชาตดูแตกต่างจากปกติ
ตอบคำถาม
การรักษา hypospadia โดยการผ่าตัดควรทำเมื่อใด เพราะเหตุใด
ช่วง6-18เดือนไม่เกิน2ปี
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดมีอะไรบ้าง
เลือดออก
เกิดการตีบตันของรูเปิดท่อปัสสาวะ/ท่อปัสสาวะบริเวณแผลเย็บ
มีรูตรงบริเวณรอยต่อระหว่างรูเปิดท่อปัสสาวะเก่ากับใหม่
องคชาตยังโค้งงอ
เกิดการติดเชื้อ
คำแนะนำในการดูแลหลังผ่าตัดเมื่อกลับไปอยู่บ้านทำอย่างไร
ทำความสะอาดให้เด็กภายหลังการถ่ายอุจจาระ
อธิบายอาการติดเชื้อปัสสาวะขุ่นมีตะกอนและกลิ่นเหม็น
ควรมาพบแพทย์ทันที
ภายหลังการเอาสายสวนปัสสาวะออก ให้สังเกต ปริมาณปัสสาวะ ลักษณะการถ่าย
อธิบายให้เด็ก บิดามารดา/ผู้ปกครองเข้าใจ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
อธิบายให้เด็ก บิดามารดา/ผู้ปกครองเข้าใจ ถึงความส าคัญในการมาพบแพทย์
บิดามารดา/ผู้ปกครองต้องกระตุ้นให้เด็ก ดื่มน้ ามากๆ ทุกวัน
ห้ามเด็กเล่นทราย ขี่จักรยานหรือนั่งคร่อม ของเล่น ว่ายน้ำ
ดูแลแผลผ่าตัดไม่ให้เปียก
แนะนำและสาธิตให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง ทราบวิธีการดูแลความสะอาดองคชาตที่คาสายสวนปัสสาวะ
การผ่าตัดแก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่า
ปกติ
ผ่าตัดแบบขั้นตอนเดียว (one-stage repair)
องคชาตตรง รูเปิดอยู่ปลายองคชาต
การผ่าตัดแก้ไขรูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ต่ำกว่า
ปกติ
Orthoplasty ผ่าตัดแก้ไขภาวะองคชาต โค้งงอ
Urethroplasty หลังผ่าตัด orthoplasty แล้ว 6 เดือน เพื่อให้เนื้อเยื่อบริเวณที่ผ่าตัดมาแล้ว อ่อนนุ่ม
เนตรทอง นามพรม. (2553). Esophageal atresia (EA) and tracheoesophageal fistula (TEF) [ออนไลน์]. สืบค้นจาก :
https://cmnb.site/esophageal-atresia-ea-and-tracheoesophageal-fistula-tef/
โรงพยาบาลธนบุรี. การใส่สายอาหารทางหน้าท้อง [ออนไลน์]. สืบค้นจาก :
https://www.thonburihospital.com/PEG_Percutaneous_endoscopic_gastrostomy.html