Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง : - Coggle Diagram
อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง :
ผู้แต่ง
ร.๒ (พระพุทธเลิศหล้านภาลัย)
ผู้แต่งสมัยอยุธยา
เจ้าหญิงกุณฑล (ดาหลัง หรือ อิเหนาใหญ่)
เจ้าหญิงมงกุฏ (อิเหนา หรือ อิเหนาเล็ก)
เนื้อเรื่อง(สำคัญ)
ท้าวดาหา ยกบุษบาให้ จงกา เพราะแค้นอิเหนา
วิหยาสะกำ ชอบ บุษบา
ท้าวกะหมังกุหนิง ส่งจดหมายมาขอ บุษบา
ท้าวดาหา ปฏิเสธ
ท้าวกระหมังกุหนิงโกรธ จึงทำศึกชิงนางบุษบา จาก จงกา
กุเรปันส่งจดหมายไปเมืองหมันหยา "เลี้ยงลูกอย่างไร ให้มายั่วผู้ชาย" และบอกให้อิเหนามาช่วยรบ
กุเรปัน ส่งจดหมายถึงอิเหนา (ฉบับที่๒) "ถ้าไม่ช่วยจะตัดพ่อตัดลูก"
จินตะหราไมเชื่ออิเหนา คิดว่าอิเหนาจะไปหานางบุษบา
1 more item...
๔ องศ์เทวัญ
๒ ดาหา
๓ กาหลัง
๑ กุเรปัน
๔ สิงหัตสาหรี
อิเหนาแทรกประเพณีและพิธี เหมาะแก่การศึกษาภาษาชวา
ลักษณะคำประพันธ์
กลอนบทละคร ใช้สำหรับแสดงระครรำ
คุณค่าด้านเนื้อหา
ให้แง่คิดต่างๆเป็นความจรรโลงใจ
กลอนไพเราะ มีความหมายลึกซึ้งคมคาย
ทำให้เพลิดเพลินไปกับพฤติกรรมของตัวละครและเรื่องราว
ต้นฉบับของอิเหนา
ปันหยีสะอีหงัน
เหมือนชื่อตัวละคร ชื่อเมือง
ความรู้จากบทบรรยาย
ท้าวกะหมังกุหนิง=นาคนาม
อิเหนา =นามครุฑปักษา
ความหมายลึกซึ้งมีลักษณะ
๓ บทครวญทำนอง บทนิราศ แสดงอารมณ์ทุกข์โศกของตัวละครที่ต้องพลัดพรากจากผู้เป็นที่รัก
๔ เปรียบเทียบได้เด่นชัด ทำให้เกิดจินตภาพ
๒ บทพรรณนากล่าวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยละเอียด
ทำให็เกิดจินตนาการเด่นชัด
๕ โวหารโต้ตอบคมคาย
๑ บรรยายเล่าเรื่องกระชับ เดินเรื่องเร็ว และสื่อความได้ว่า
ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร
๖ เล่นคำพ้องเสียง แต่ความหมายต่างมาเรียบเรียงเพื่อสื่อความว่าสิ่งนั้นทำให้จิตประหวัดไปถึงนางที่รัก
อิเหนามีครบ ๕ คือ
๒ กลอนไพเราะ
๓ รำงาม
๑ ตัวละครงาม
๔ พินพาธไพเราะ
ร้องไพเราะ
วรรณคดีสโมสรยกให้เป็นยอดของบทระครรำ
ทัพของอิเหนามี ๕ คน
๓ สังคามาระตา
๔ สุหรานากง
๒ กะหรัดตะปาตี
๕ ระเด่นดาหยน
๑ อิเหนา
บทสรุป
วิหยาสะกำ ตาย สังคามาระตา ฆ่า
อิเหนา บอก สังคามาระตา ว่า
๑ ห้ามลงจากหลังม้า
๒ ใช้พลงทาน
อิเหนา
ใช้ หอก,กระบี่ สู้กับท้าวกระหมังกุหนิง ไมาตาย
ใช้ กริช สู้ ตาย เพราะม้าของท้าวกะหมังกุหนิงก้าวเท้าผิด
รสวรรณคดี
๓ พิโรธวาทัง(โกรธ)
๔สัลลาปังคพิไสย (เศร้า)
๒ นารีปราโมทย์ (จีบ)
๑ เสารจนีย์ (ชม)