Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ การพยาบาลจิตเวช (Mental Health Promotion and…
การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ
การพยาบาลจิตเวช
(Mental Health Promotion and Psychitric Nursing
หลักการพื้นของสุขภาพจิต
สมาคมพยาบาลสหรัฐอเมริกา
การพยาบาลเฉพาะทางโดยใช้ศาสตร์เเละศิลปะทางการพยาบาล ซึ่งศาสตร์นั้นประกอบด้วยทฤษฎีต่างๆ เกี่ยกับพฤติกรรมของมนุษย์และศิลปะทางการพยาบาลนั้นใช้ ตนเอง อย่างมีจุดหมาย
คุณลักษณะของพยาบาลจิตเวช
เป็นผู้ที่รู้จักและเข้าใจตนเอง
สามารถวิเคราะห์สัมพันธภาพของตนเองที่มีต่อบุคคลอื่นทั้งทางบวกและทางลบพร้อมทั้งปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น
มีความรักความพึงพอใจในงาน
ยอมรับในพฤติกรรมของผู้ป่วยหรือผู้มีปัญหาสุขภาพจิต
มีความรักในเพื่อนมนุษย์
มีความสม่ำเสมอ
มีความคิดสร้างสรรค์ มีเหตุผล มองการณ์ไกล
เป็นผู้มีความยืดหยุ่น
เป็นผู้ไวต่อความรู้สึกผู้อื่น (Sensitive)
มีการตระหนักรู้ในตนเอง (Self-awareness)
สามรถเผชิญกับความคับข้องใจ ความเครียดและสามารถปรับตัวได้ดี
เป็นผู้ที่มีวุฒิภาวะทางอารมณ์
หลักปฏิบัติการพยาบาลจิตเวช
การยอมรับในพฤติกรรมการแสดงออกของผู้ป่วย ไม่ตัดสินผู้ป่วยโดยใช้
ความรู้สึกของตนเอง
ใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา
เป้าหมายของการพยาบาลคือการช่วยเหลือบุคคลทั้งคน
เคารพในสิทธิ เสรีภาพของผู้ป่วย
เคารพผู้ป่วยในฐานะบุคคล
ปฏิบัติการพยาบาลโดยเน้นความเป็นปัจจุบันของบุคคล
เน้นความสำคัญของการตระหนักรู้ในตนเองของพยาบาล
(self-awareness)
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
ประวัติ และแนวโน้มสุขภาพจิต
และการพยาบาลจิตเวช
ยุคกลาง
ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับจิตพยาธิวิทยาว่า วิญญาณย่อมไม่ป่วย
Thomas Aquinas
Albert the Great
ยุคฟื้นฟู
จิตแพทย์คนแรก Johann Weyer
อธิบายถึงการวินิจฉัยและอาการของโรคทางจิต
ยุคกรีกและโรมัน
โรคทางจิตก็เหมือนกันกับโรคอื่นๆ ไม่เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์
มีลักษณะเฉพาะและสาเหตุที่เเน่นอน
คริสต์ศตวรรษที่ 17 และต้นคริสต์ศวรรษที่ 18
วิทยาศาสตร์นาไปสู่การจำแนกโรคทางจิต
ตำราทางแพทย์เล่มแรกเกี่ยวกับวิชาจิตเวชศาสตร์
ยุคเริ่มต้นของอารยธรรม
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19
Philippe Pinel
บิดาของวิชาจิตเวชศาสตร์
คนแรกที่ปลดโซต่ รวนออกจาก
ผู้ป่วยโรคจิตในประเทศฝรั่งเศสและประเทศอื่น ๆ
Benjamin Rush บิดาของวิชาจิตเวชศาสตร์
ของอเมริกา
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจเกิดจาก
อิทธิพลทางไสยศาสตร์
ยุคครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์สศตวรรษที่ 20
ค้นพบทฤษฏีจิตวิเคราะห์
บทบาทของพยาบาลด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
ผู้มีส่วนร่วมในชุมชน
ผู้จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
ผู้สอน
ผู้ปฏิบัติตามมาตรฐานทางการพยาบาล
ผู้วิจัย
ผู้ประสานการดูแล
ผู้ให้การดูแลอย่างต่อเนื่อง
ลักษณะและขอบเขตงานทั้ง 4 มิติ ของการพยาบาลจิตเวช
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตหรือรักษาภาวะทางสุขภาพจิตได้ดี
(Prevention or maintenance of mental health)
การบำบัดรักษาผู้ป่วยทางจิต
การส่งเสริมสุขภาพจิต (Promotion of mental health)
การฟื้นฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation of mental health)