Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
Power
Maternal force
สาเหตุ
Maternal exhaustion
Maternal nervousness
Analgesics/sedative drug
Poor maternal force :
ผลกระทบ
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะคับขันหรือขาดออกซิเจน
dehydration
หมดแรง อ่อนเพลีย
เกิดภาวะเลือดเป็นกรดเนื่องจากกล้ามเนื้อทำงานมาก
การคลอดระยะ2ยาวนอน คลอดติดขัด
Uterine contraction
Hypotonic uterine dysfunction
มดลูกหดตัวน้อย ความดันในโพรงมดลูก<25mmHg
สาเหตุ
Cephalopelvic disproportion
Malpresentation
Malposition
Overdistended uterus ; multiple pregnancy ,polyhydramnios
Over dose of Analgesic,drug
full bladder
D < 40sec , I > 3min
ผลกระทบ
อาจตกเลือดหลังคลอด
โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยากระตุ้นมดลูก
การคลอดยาวนาน
การพยาบาล
กระตุ้นให้ลุกเดินหากปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ประเมิน uterine contraction
จัดท่าศีรษะสูง หรือตะแคง
กระตุ้นให้ปัสสาวะหรือสวนปัสสาวะ
Hypertonic uterine dysfunction
มดลูกหดตัวรุนแรง แต่ไม่สัมพันธ์กัน
ความดันในโพรงมดลูก >50mmHg
In-coordinate uterine contraction
หดรัดตัวแรงบริเวณตอนกลาง/ล่าง > ยอดมดลูก
ลักษณะการหดรัดตัว ไม่มีการแผ่กระจายจากยอดมดลูก
ระยะพัก มดลูกคลายตัวไม่เต็มที่
หดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ
Tetanic contraction
มดลูกรัดตัวมากกว่าปกติ มีอาการเจ็บปวดมาก
D > 90sec
หดรัดตัวถี่กว่าปกติ I < 90sec
การพยาบาล
ประเมิน uterine contraction
หากได้ oxytocin ให้หยุดยาทันที
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
oxygen canula 4LMP
ประเมิน FHS q 5min
Constriction ring
มีวงแหวนเกิดบนรอยคอดของทารกเหนือ Cx 7-8cm
ตรวจไม่พบรอยคอดที่เป็นวงแหวนทางหน้าท้อง ตรวจโดยการสอดมือเข้าไปในช่องคลอด
มดลูกหดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก
อาจเกิดหลังคลอด ซึ่งทำให้รกค้าง
อาจเกิดการคลอดผิดปกติ จะต้อง C/S
Bandl's
ลักษณะเป็นวงแหวนคล้าย braun’s แต่ระดับวงแหวนจะสูงขึ้นเรื่อยๆ พบใกล้สะดือหรือสูงกว่า คลำรอยคอดได้
Constriction
ไม่ทำให้มดลูกแตก ทารกเคลื่อนต่ำไม่ได้
เกิดเมื่อ Cx.7-8cm. ตำแหน่งไม่เปลี่ยน อาจไม่พบทางหน้าท้อง
สาเหตุ
ท่าและส่วนนำผิดปกติ
การผิดสัดส่วนระหว่างทารกและกระดูกเชิงกราน
ไม่ทราบ 50 %
จิตใจ, ได้รับยาแก้ปวด/ยาชา, Bladder full
Passenger
Malpresentation
Brow
คลอดยาวนาน และหยุดชะงัก
คลอดทางช่องคลอดได้หากทารกมีขนาดตัวเล็ก
Face
ถ้าหน้าเป็นส่วนนำ คางเฉียงหลัง และตัวเล็กมาก เชิงงกรานกว้างมากอาจคลอดได้ โดยคางคลอดผ่านฝีเย็บออกมาก่อน จากนั้นศีรษะจะก้ม
อาจต้องใช้ F/E
ขม่อมหน้า
ระยะ 1,2 คลอดยาวนาน
คลอดทางช่องคลอดได้ หากเชิงกรานไม่แคบ และมีU/C
Malposition
Breech
complete breech งอสะโพก งอเข่ำ
incomplete breech เหยียดสะโพก
frank breech งอสะโพก เหยียดเข่ำ
Shoulder
Compound
การพลัดต่ำของแขนขาทารก ยื่นลงมาพร้อมกับส่วนนำ
มักพบในรายศีรษะไม่เข้าเชิงกราน ส่วนนำผสม ครรภ์แฝด หญิงที่เคยมีบุตรหลายคน
Anomalies of fetus
Hydrocephalus
มีการคั่งของน้ำCSFในventriclesมากเกินไป
การดูแลรักษา
ถ้าศีรษะเป็นส่วนนำ ให้ลดขนาดศีรษะลง โดยการใช้ smellie scissor เจาะเอาน้ำCSFออก
ถ้าเป็นท่าก้น สามารถลดขนาดศีรษะทารกโดยใช้metal catheter เจาะผ่าน spinal canal
Conjoined twins
การดูแลรักษา
แฝดจำนวนสามารถคลอดได้
แฝดที่ขนาดตัวใหญ่ต้อง C/S
ส่วนมากถ้าทราบว่าแฝดติดกันจะ C/S
Oversize baby
นน.>4,000g
ผลกระทบ
คลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดติดขัด
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีทั้งระยะคลอดและหลังคลอด
soft passage ฉีกขาด มีการแยกของกระดูกSP
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
ความผิดปกติการหมุนของส่วนนำ
LOP อยู่หลัง(OP) และคงอยู่หลัง(OPP)
ผลต่อการคลอด
คลอดเองไม่ได้ ให้ช่วยคลอดด้วยมือหมุน F/E หรือ V/E
คลอดยาวนาน คลอดยาก หรือหยุดชะงัก ระยะปากมดลูกเปิดเร็วและระยะ2ของการคลอด
คลอดเองได้ หากทารกตัวไม่โต และส่วนหลังเชิงกรานกว้าง
ทารกมักจะหมุนจนท้ายทอยมาอยู่ด้านหน้าและคลอดในท่าปกติ
ท่าคงอยู่หลัง
มีรอยแสกกลางของศีรษะทารกอยู่ในแนวขวาง ไม่มีการหมุนเป็นเวลาอย่างน้อย 1hr
ผลต่อการคลอด
คลอดยาวนานระยะ1,2ของการคลอด
ช่วยคลอดด้วย V/E F/E C/S กรณีหมุนศีรษะไม่ได้
Passage
ช่องเชิงกรานปกติ
Pelvic inlet: Diagonal conjugate 11.5 cms. (10/12 cms.)
Mid-pelvis: Interspinous diameter 9.5 cm. (9 cms.)
Pelvic outlet: Biischial diameter 8 cms./ Pelvic arch angle 80 degree
Contracted pelvis
ความผิดปกติของช่องเชิงกราน
Inlet contraction
A - P diameter < 10 cms.
• ( ปกติ 10.5 cms. )
Transverse diameter < 12 cms.
• ( ปกติ 13.5 cms. )
Obstetric conjugate < 10 cms.
• ( ปกติ 12 cms. )
Diagonal conjugate < 11.5 cms.
การประเมิน
ตรวจทางหน้าท้อง
ดันยอดมดลูก จะพบว่าศีรษะติดที่ SP.
In labor ศีรษธไม่engagement
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ตรวจทางช่องคลอด
วัด Diagonal conjugate < 11.5 cms.
วัดได้ขอบ 2 ข้างของ Pelvic inlet ---> Transverse diameter สั้น
ไม่มีการเคลื่อนลงของศีรษะทารก เมื่่อดันยอดมดลูก
x-ray
U/S ประเมิน Biparietaldiameter ( ปกติ 9.5 - 9.8 cms. )
การดูแล : Trial labor
ศีรษะทารกมีขนาดเล็ก
ศีรษะทารกมีการก้มเต็มที่
ศีรษะทารกมีการตะแคง
เชิงกรานชนิด Gynecoid
มดลูกหดรัดตัวปกติ
cervix dilateปกติ
เคยผ่านการคลอดทางช่องคลอด
ไม่มีโรคแทรกซ้อน
Contracted midpelvis
Interspinous diameter < 9 cms
( ปกติ 10.5 cms )
ผลบวกของ Interspinous diameter และ post sagittal diameter < 13.5 cms ( ปกติ 15.5 cms. )
การประเมิน
Ischial spine นูนเด่น
ด้านข้างของช่องเชิงกรานสอบนูนเข้าหากัน
Sacrosciatic notch แคบ
Intertuberousdiameter แคบ
มี Inlet contraction ร่วมด้วย
มักพบการหยุดชะงัก การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การดูแล
ไม่ควรใช้ Oxytocion
V / E ดีกว่า F / E
แคบมาก เด็กตัวโต ---> C / S
Contracted pelvic outlet
Pelvic arch angle < 80 degree
Intertuberous < 8 cms (ปกติ 10 cms)
การพยาบาล
การใช้หัตถการ
ช่วยคลอด
F/E
V/E
ความผิดปกติของ Soft Passage
สาเหตุ
เนื้องอกของมดลูก มีถุงน้ำที่รังไข่ มะเร็งปากมดลูก
ปากมดลูกผิดปกติ เช่น ตีบ ตัน แข็ง ไม่ยืดหยุ่น
ช่องคลอดผิดปกติ เช่น ตีบแคบมาแต่กำเนิด ประวัติผ่าตัดและพังผืด
ปากช่องคลอด และฝีเย็บผิดปกติ เช่น แข็งและไม่ยืด
ตำแหน่งมดลูกผิดปกติ เช่น คว่ำหน้า-หลัง
ปากมดลูกบวม
bladder full หรือมีอุจจาระมาก
การดูแล
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การขยายช่องทางคลอด
การเสริมการหดรัดตัวของมดลูก Cephalopelvic disproportion(CPD) การผิดสัดส่วนของส่วนนำกับช่องเชิงกราน
Cephalopelvic disproportion(CPD) การผิดสัดส่วนของส่วนนำกับช่องเชิงกราน
การวินิจฉัย
ตรวจทางคลินิค
ตรวจร่างกาย: Martin pelvimeter
ตรวจภายใน : Pelvic examination ; inlet,mid, outlet
Hellis -Muller maneuver กดยอดมดลูก
Munro Kerr maneuver กดศีรษะเด็กเหนือหัวเหน่า
x-ray pelvimetry : กระดูกแตกหัก โรคของกระดูกเชิงกราน
รูปร่างมารดา : ตัวเล็ก ส่วนสูง<145cm กระดูกสันหลังคดงอ
ประวัติมารดา : คลอดยาก ตายคลอด ช่วยคลอด อุบัติเหตุ
ตรวจครรภ์เมื่อครบกำหนด : head float
สาเหตุ
ทารกตัวโต(macrosomia)
ทารกพิการ(anomalies)
เชิงกรานเล็ก(contracted pelvis)
เชิงกรานผิดรูป (congenital/Poliomyelitis)
เชิงกรานหัก
ผลต่อการตั้งครรภ์
มารดาอ่อนเพลีย เกดิdehydration
ถุงน้ำทูลหัวแตกก่อนเวลา
soft passage ฉีกขาดมาก
มดลูกแตก
ทารกบาดเจ็บจากการคลอด และขาดoxygen
การดูแล
ผิดสัดส่วนชัดเจน
ผ่าตัดคลอด
ผิดสัดส่วนไม่ชัดเจน
ทดลองคลอด
เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับผ่าตัด
อธิบายแผนการรักษา/ความก้าวหน้าการคลอดเป็นระยะ
ดูแลผู้คลอดและทารกอย่างใกล้ชิด
ประเมินความก้าวหน้าการคลอด
Psychological
ความวิตกกังวล(Anxiety)
ระดับ epinephrine สูงขึ้น
กล้ามเนื้อทำงานลดลง ระยะคลอดยาวนานขึ้น
ประสาทซิม
พาเธติก
กล้ามเนื้อและประสาท
การเกร็ง
การหดรัดตัวผิดปกติ
การคลอด
pain
ผลกระทบ
ต่อมารดา
การคลอดล่าช้าและคลอดยาก
ปากมดลูกเปิดช้าลง
ความเจ็บปวดรุนแรงขึ้น
ต่อทารก
หัวใจของทารกเต้นช้าลง
คะแนน APGAR ต่ำ
บทบาทพยาบาล
เข้าใจความรู้สึก เอาใจใส่
ความเคารพและเอื้ออาทร
สาเหตุ
สิ่งแวดล้อมในรพ.
สภาวะที่ไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง ทั้งการเจ็บครรภ์ก่อนหรือเกินกำหนด
เหตุการณ์ไม่เป็นไปตามที่รับรู้ หรือที่มีประสบการณ์มาก่อน
กลัวว่าบุตรจะบาดเจ็บหรือพิการ
ประสบการณ์เจ็บปวดในอดีต
กลัวความเจ็บปวดจากการคลอด
กลัวสิ่งที่ไม่รู้หรือรับรู้ไม่ถูกต้อง