Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis), นางสาวเสาวนิตย์ สมบูรณ์จิตฤดี…
ขั้นการวินิจฉัยชุมชน (Community Diagnosis)
การระบุปัญหา
(Problem Identification)
ใช้หลัก5 ตัวชี้วัด ได้แก่ 5 D
Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
ประชาชนป่วยโรคพยาธิใบไม้ในตับ27/1,000 ประชากร
มาเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือตัวชี้วัดของประเทศ จังหวัด อำเภอ หรือที่ชุมชนสังคมยอมรับ/ เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตที่เคยเกิดขึ้น
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
ประชาชนในชุมชนมีปัญหาเรื่องการไม่ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน COVID 19 อย่างเคร่งครัด เช่น การใส่หน้ากากอนามัย การเว้น ระยะห่างทางสังคม
ใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรค DM HT ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (House Index) ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัดการดำเนินงานด้านสุขภาพของกระทรวงของจังหวัด เกณฑ์จปฐ เป็นต้น
ปัญหา
1) ปัญหาอนามัยของชุมชนเอง กระทบคนส่วนใหญ่ในชุมชนและชุมชนคิดว่าจำเป็นเร่งด่วนต้องรีบแก้ไข
2) ปัญหาอนามัยของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นปัญหาที่รุนแรงหรือเป็นปัญหาของรัฐหรือนโยบาย
= (สิ่งที่คาดหวัง – สิ่งที่เป็นอยู่) X ความตระหนักที่ต้องการแก้ไข
3) ปัญหาอนามัยของชุมชนและเจ้าหน้าที่ร่วมกัน
หลักการเขียนปัญหา
หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปไม่ได้รับการตรวจเต้านมร้อยละ53
ประชาชนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอัตรา 22.5 ต่อ พันประชากร(ต่อร้อย ต่อพัน ต่อหมื่น ต่อแสน ฯลฯ)
ควรมีความชัดเจน ควรระบุว่าใครรับผลของปัญหา มีจำนวนหรืออัตรามากน้อยเพียงใด
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Set Piority)
วิธีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหามีหลายวิธีดังนี้
สมาคมสาธารณสุขอเมริกา
(American Public Health Associated)
ความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ความต้องการความรู้เฉพาะที่จะนำมาแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่มีอยู่สำหรับการแก้ปัญหานั้น
จำนวนทรัพยากรที่เกี่ยวข้องที่จำเป็นสำหรับการแก้ปัญหา
ระดับความตระหนักในปัญหาของกลุ่ม
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพบูลย์ โล่สุนทร
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (economic loss) ดูการสูญเสียเวลาทำงาน
โรคนั้นป้องกันได้ (preventability) โรคที่ป้องกันได้ต้องจัดลำดับความสำคัญไว้สูง
ความรุนแรงของโรค (virulence of disease) ดูความพิการหรือการตายมากน้อยเพียงใด
โรคนั้นรักษาหายได้ (treatability)
ความชุกของโรค (prevalence) ดูจากจำนวนผู้ป่วยใหม่และผู้ป่วยเก่า
ทรัพยากรทางด้านอนามัยและอื่นๆ (health and other resources)
อุบัติการณ์ของโรค (incidence)ดูจากจ านวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้น
ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน (community concern and participation)
จอหน์แฮนลอน และจอร์ท พิคเค็ท (Hanlon and Pickett)
ความรุนแรงของปัญหา พิจารณาจากความเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข การสูญเสียเศรษฐกิจ
ประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ปัญหา โดยดูผลลัพธ์จากการแก้ปัญหาว่าทำได้เท่าใด จะลดปัญหานั้นได้เท่าใด
ขนาดของปัญหา พิจารณาขนาดของการเกิดโรค ความชุกของการเกิดโรค
ฐานะเศรษฐกิจ การยอมรับ ทรัพยากรและกฎหมาย
จริยวัตร คมพยัคฆ์
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านระยะเวลา (เวลาน้อยจะมีข้อจำกัดมาก)
ด้านกฎหมาย (การแก้ปัญหาต้องไม่ขัดแย้งกับกฎหมาย)
ด้านศีลธรรม (การแก้ปัญหาต้องไม่ผิดศีลธรรม)
ด้านบริหาร (การจัดการภายในทีมเพื่อร่วมมือกันใน การแก้ปัญหา รวมกำลังคน เงิน วัสดุ ทรัพยากรต่างๆ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน)
ด้านวิชาการ(ความรู้ความสามรถของผู้แก้ไขปัญหา)
ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน เป็นความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาโดยเร็วของชุมชนโดยประชาชนมีส่วนร่วมเข้าไปแก้ปัญหาด้วย
องค์ประกอบด้านสุขภาพอนามัย
ขนาดของปัญหา (size of problem or prevalence) ดูจำนวน อัตรา ร้อยละฯลฯ
ความรุนแรงของปัญหา (severity of problem ) ดูความพิการ ดูอัตราตาย อัตราป่วยตาย การสูญเสีย เศรษฐกิจ การระบาดลุกลาม ฯลฯ
การให้ค่าคะแนน
ความรุนแรง
2 = เจ็บป่วยเรื้อรัง สูญเสียเงินรักษามาก ก่อให้เกิดการระบาด/ติดต่อ
1= มีภาวะเสี่ยง เจ็บป่วยเล็กน้อยรักษาหาย
3 = เกิดความพิการ/ทุพพลภาพ
4 = ตาย
ความยากง่าย
2 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ยาก
3 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่าย
1 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ยากมากๆ
4 = ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่ายมากๆ
อย่าลืม ด้านวิชาการ ด้านบริหาร ด้านระยะเวลา ด้านกฎหมาย ด้านศีลธรรมให้นำมาคิดด้วยเสมอ
ขนาดของปัญหา
2 = ขนาดของปัญหามากกว่า 25-50
1 = ขนาดของปัญหามากกว่า 0-25
3 = ขนาดของปัญหามากกว่า 50-75
4 = ขนาดของปัญหามากกว่า 75-100
ความวิตกกังวลของปัญหา
2 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา มากกว่า 25 -50
3 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา มากกว่า 50 -75
1 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา 0 - 25
4 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา มากกว่า 75 -100
เมื่อทราบปัญหาที่ชัดเจนแล้ว ต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Set Piority) ว่าปัญหาใดมีความจำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขมากกว่ากัน เพราะทรัพยากรมีจำกัด (เงิน เวลา คน ) ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา พยาบาลชุมชนควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของเขา
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
(Identify Cause of Problem and Web of Causation)
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
โยงใยสาเหตุทางทฤษฎี (Theoretical Web of causation)
โยงใยสาเหตุที่เกิดขึ้นจริง (Causal Web of causation)
หลักการวิเคราะห์โยงไยสาเหตุของปัญหา
ถ้าได้รับปัจจัยเสี่ยงมาก การเกิดโรคก็มาก ได้รับปัจจัยเสี่ยงน้อยการเกิดโรคน้อย
มีขนาดและความจ าเพาะเจาะจงของสาเหตุการเกิดโรค
ความสัมพันธ์ของปัจจัยสาเหตุกับการเกิดโรค ต้องเป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์
ไม่ว่าจะศึกษาโดยวิธีใด ผลสรุปที่ได้สอดคล้องกันกล่าวคือปัจจัยนั้นยังคงเป็นสาเหตุที่ให้เกิดโรคเช่นเดิม
ปัจจัยสาเหตุต้องเกิดก่อนการเกิดโรค
ปัจจัยหรือสาเหตุนั้นสามารถอธิบายด้วยวิธีการหรือศาสตร์ใดๆได้
ชนิดของสาเหต
สาเหตุทางตรง
สาเหตุทางอ้อม
นางสาวเสาวนิตย์ สมบูรณ์จิตฤดี เลขที่70