Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย - Coggle Diagram
ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศไทย
กระทรวงสาธารณสุข ( Ministry of Public Health )
กระทรวงสาธารณสุข ( Ministry of Public Health )
การจัดสรรงบประมาณด้านการสาธารณสุขของประเทศ
จัดสรรกำลังคนด้านสาธารณสุข
การกำหนดแผนพัฒนาสาธารณสุขของประเทศ
การควบคุมกำกับงานด้านสาธารณสุขของประเทศ
การกำหนดนโยบายสาธารณสุขของประเทศ
แนวคิดของ ระบบบริการสุขภาพ
ครอบคลุมท้งับริการที่จดัโดยบุคลากรทางดา้นสุขภาพ (professional care) และบริการที่จัดโดยบุคคคล ครอบครัวและชุมชน (non-professional care)
ครอบคลุมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นการสร้างเสริมสุขขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ
สอดคล้องกับความจำเป็น หรือตอบสนองความต้องการ และสภาพปัญหาทางด้านสุขภาพ
เป็นเพียงระบบย่อยระบบหนึ่งในระบบสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยเป็ นระบบพหุลักษณ์
ระบบบริการสุขภาพ
ครอบคลุม 4มิติ หลักด้านการดูแลสุขภาพ (Integrated care) ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู
ครอบคลุมสุขภาพองค์ (Holistic care) กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ
ต่อเนื่องต้งัแต่เกิดจนตาย ต้งัแต่ป่วยจนหายป่ วย(Continuing care)
หลักการของแผน 12
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• ยึดคนเป็ นศูนย์กลาง
• ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579ควบคู่กบักรอบเป้าหมายการพฒั นาที่ยงั่ ยืน SDGS
• การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0
• ประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
• ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่2
• กรอบแนวทางแผนระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข
ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย
• หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
• ประกันสังคม
• สวัสดิการข้าราชการ
ประเภทของระบบบริการสุขภาพทั่วโลก
ระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม: Russia, Cuba
ระบบบริการสุขภาพแบบครอบคลุม: England, Scandinavia, Italy, Greeze, Spain, Costarica &Srilanka
ระบบสวัสดิการ: West Europe (German), Canada, Australia, Japan
ระบบเสรีนิยม: USA, Philippine
ระบบบริการสุขภาพ : ระดับ/ระบบส่งต่อ
การจัดบริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ (Secondary Car level หรือ Secondary medical Car : SMC)
การจัดบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ (Tertiary Car level หรือ Tertiary medical Car : TMC)
การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care : PHC)
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว (Self care level)
การจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary Car level หรือ Primary medical Car : PMC)
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
4 : พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
3 : พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
2 : สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล ้าในระบบบริการ
ยุทธศาสตร์ที่1 : เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
หลักเกณฑ์การพิจารณาปฐมภูม
คัดกรองโรคเพื่อการส่งต่อระดับสูง
มีเตียงสังเกตอาการ ไม่มีผู้ป่ วยใน
พันธกิจในการดูแลดา้นการรักษาผูป้่วยนอกจดับริการการแพทยแ์ผนไทยกายภาพบำบัดฟื้นฟูสภาพเยี่ยมบ้าน ส่งเสริมสุขภาพ คัดกรองปัจจัยเสี่ยง
บุคลากร
การป้องกันโรค
การป้องกันระดับปฐมภูม
การป้องกันโรคทุติยภูม
การป้องกันระดับตติยภูม