Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉันชุมชน, นางสาวพัทราภรณ์ อรภักดี เลขที่ 43 - Coggle Diagram
การวินิจฉันชุมชน
การประเมินชุมชน (community assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อดี ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
ข้อมูลที่ต้องรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน เช่น ประวัติชุมชน ที่ตั้งอาณาเขต สภาพภูมิประเทศ
ข้อมูลประชากร เช่น อายุ เพศ สถานะภาพสมรส
ข้อมูลด้านสุขภาพ เช่น อัตราเกิด อัตราตาย
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ น้ำ ส้วม พาหะนำโรค
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ เช่น ระบบบริการสุขภาพ
เครื่องมือ
การสังเกต : พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
การสำรวจ : สำมะโนประชากร
การใช้แบบสอบถาม : การรับประทานอาหาร การป้องกันตัวไม่ให้ติด COVID 19
การวัดและประเมิน : BP, blood sugar,BMI, ADL
การทดสอบ : Timed up and go test, Child development
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสนทนากลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล
จัดประเภทข้อมูล
ลักษณะทั่วไปของชุมชน
ข้อมูลสุขภาพอนามัย
ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโรค
การแจกแจงข้อมูล การใช้การแจงนับ (tally)หรือจะใช้การวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์
รวมจำนวนการแจงนับ(tally)ออกมาเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม แล้วนำมาคำนวณเป็นค่าร้อยละหรือค่าสถิติชีพ
การนำเสนอข้อมูล
วัตถุประสงค์
จัดข้อมูลต่างๆให้อยู่ในรูปแบบที่เห็นและเข้าใจง่าย
ช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบผลอย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์
เตรียมความพร้อมสำหรับการวิเคราะห์และแปลความหมายต่อไป
รูปแบบ
ข้อความ
ตาราง
กราฟแท่ง (Bar Chart)
Pie chart แผนภูมิวงกลม (Pie chart)
เส้นกราฟ
พีรามิด
การวินิจฉัยชุมชน (community diagnosis )
การระบุปัญหา
ใช้เกณฑ์ ตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดการดำเนินงานด้าน
สุขภาพของกระทรวง ของจังหวัด
5D
Dead
Disability
Disease
Discomfort
Dissatisfaction
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting)
ขนาดของปัญหา
พิจารณาขนาดของการเกิดโรค ความชุกของการเกิดโรค
ความรุนแรง
ใช้อัตราตาย
5Ds
ต้องพิจารณาจากข้อมูลสนับสนุน
ปัญหาใดมีความจำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขมากกว่ากัน เพราะทรัพยากรมีจำกัด ในการจัดลำดับความสำคัญ พยาบาลชุมชนควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของเขา
ความยากง่าย
ด้านวิชาการ ความรู้ความสามรถของผู้แก้ไขปัญหา
ด้านบริหาร การจัดการภายในทีมเพื่อร่วมมือกันในการแก้ปัญหา รวมกำลังคน เงิน วัสดุ ทรัพยากรต่างๆ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
ด้านระยะเวลา เวลาน้อยจะมีข้อจำกัดมาก
ด้านกฎหมาย การแก้ปัญหาต้องไม่ขัดแย้งกับกฎหมาย
ด้านศีลธรรม การแก้ปัญหาต้องไม่ผิดศีลธรรม
ความวิตกกังวล/ความสนใจของชุมชน
ต้องการที่จะแก้ปัญหาโดยเร็วของชุมชน ประชาชนมีส่วนร่วมเข้าไปแก้ปัญหาด้วย
การระบุสาเหตุ และทำโยงใยสาเหตุของปัญหา
ชนิดของสาเหตุ
ทางตรง
ทางอ้อม
ชนิดของโยงใยสาเหตุของปัญหา
ทางทฤษฎี
ทางทฤษฎี
แผนงานและโครงการ
การวางแผน
การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทำอะไร ทำอย่างไร ทำเมื่อใด และใครเป็นผู้ทำ
ความสำคัญ
ช่วยให้มีการตัดสินใจอย่างมีหลักเกณฑ์
เป็นศูนย์กลางการประสานงาน
การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไปโดยประหยัด มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
เป็นเครื่องมือในการควบคุมงานของนักบริหาร เพื่อติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ประเภท
แผนระดับสูง
เป็นข้อความที่ระบุไว้กว้างๆโดนครอบคลุมวัตถุประสงค์เชิงนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์การ
แผนระดับปฏิบัติการหรือแผนปฏิบัติการ
แผน(Plan) คือข้อกำหนดหรือรายละเอียดต่างๆของการดำเนินงานในอนาคต เพื่อบรรลุวัตุถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนงาน หรือชุดโครงการ(Program) คือกลุ่มกิจกรรมตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปที่มุ่งบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
โครงการ(Project) คือกลุ่มของกิจกรรมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน มุ่งตอบสนองเป้าหมายในแผนงานเดียวกัน
สรุปโครงการ(Project) คือส่วนที่จะทำให้แผนปฏิบัติการที่วางไว้กลายเป็นจริง
แบบประเพณีนิยม
ชื่อโครงการ
ต้องมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง
หลักการและเหตุผล
ส่วนที่บอกว่าทำไมต้องการทำโครงการนั้น ทำแล้วได้อะไร
วัตถุประสงค์
การดำเนินงานตามโครงการนั้นมีความต้องการให้อะไรเกิดขึ้น ควรเป็นวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
เป้าหมาย
การกำหนดทิศทางและความต้องการที่คาดหวังจะให้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
วิธีดำเนินการ หรือกิจกรรม หรือขั้นตอนการดำเนินงาน
การปฏิบัติเพื่อบรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์
ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ
งบประมาณ
การประเมินผล
ผู้รับผิดชอบโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
แบบตารางเหตุผลสัมพันธ์
นางสาวพัทราภรณ์ อรภักดี เลขที่ 43