Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5.6 โรคติดเชื้อร่วกับการตั้งครรภ์, นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส…
บทที่ 5.6 โรคติดเชื้อร่วกับการตั้งครรภ์
4.โรคเริ่มที่อวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อนโดยแนะนําการดูแลแผลให้แห้ง และสะอาดอยู่เสมอ
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
แนะนําการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาควรล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสหรือให้นมบุตร
เพิ่มภูมิต้านทานโดยการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการพักผ่อนอย่างเพียงพอออกกําลังกายเป็นประจําและการตรวจสุขภาพประจําปี
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผลควรใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันแพร่กระจายของเชื้อ
ลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดและการแพร่เชื้อ ไปยังทารก
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universalprecautionและหลีกเลี่ยงการทําหัตถการ
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
การรักษา
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
การให้ยา antiviral drug เชน่ acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
หญิงตั้งครรภ์ทีเจ็บครรภ์คลอดโดยที่มี Herpes ควรได้รับการผ่าตัดคลอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติปัจจัยเสี่ยงประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้ออาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น ตุ่มนาใสเป็น ๆ หาย ๆ บริเวณเดิมปวดแสบปวดร้อนถ่ายปัสสาวะลําบาก
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture)
เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzanck smear
การตรวจร่างกายสังเกตเห็นตุ่มนาใสแตกจะเป็นแผลอักเสบมีอาการปวดแสบปวดร้อนมากขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็งลักษณะตกขาว
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
มีตุ่มน้ำใสๆตามร่างกาย
ตาอักเสบ
มีไข้หนาวสัน
ซึม ไม่ดูดนม
ตับม้ามโต
มีการอักเสบของปาก
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองโต
มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
มีไข้ ปวดเมื่อยตัว
อ่อนเพลีย
5.หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
การวินิจฉัย
การซักประวัติปัจจัยเสี่ยง การสัมผัสผู้ติดเชื้อ อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
pap smear
อาการและอาการแสดง
หูดขึ้นรอบๆทวารหนักและในทวารหนัก
ลักษณะเป็นก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
ขนาดแตกต่างกัน
รวมกันเป็นก้อนใหญ่คล้ายดอกกะหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่น เหม็นและคัน
การรักษา
การรักษาด้วยสารเคมี
การจี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
คลอดทางช่องคลอดได้ยกเว้น หูดมีขนาดใหญ่
การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา
แนะนําการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
แนะนําให้สตรีตั้งครรภ์ส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
โรคเอดส์ (Acquired immune defiency syndrome)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ หรือ ใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย มีไข้ต่อมน้ำเหลืองโตน้ำหนักลดเป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme-linked Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Slot (WB) และ Immunofluorescent assay (IFA)
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1
ไม่มีอาการ
ตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2
ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว
ปวดศีรษะ เจ็บคอ
CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3
มีไข้สูงฉับพลันไข้ต่ำ ๆ นานกว่า 2-3 เดือน
ปวดศีรษะ เจ็บคอ
คลื่นไส้ อาเจียน
ต่อมนาเหลืองโตทั่วไป
ท้องเดินเรื้อรังน้ำหนักลด
อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไรเชื้อ
การติดต่อ
การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือการร่วมเพศทางทวารหนัก
จากมารดาสู่ทารก (Vertical transmission)
ทางกระแสเลือดจากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือด
การรักษา
ยากลุ่ม Nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor
ยากลุ่ม Non-nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor
ยากลุ่ม Protease inhibitors lauri indinavir, ritonavir, saquinavir, nelfinavir และ amprenavir
การให้ยาต้านไวรัสขณะตั้งครรภ์
กรณีที่ 1
หญิงตั้งครรภ์ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
สูตรแรก TDF + 3TC + EFV โดยแนะนําให้ยาต่อหลังคลอดทุกราย
สูตรที่ 2AZT+3TC+LPW/rหรอื TDF+3TC+LPVVr ในกรณีที่ดื้อยากลุ่ม NRTIS หรือ จําเป็นต้องหยุดยาหลังคลอด
กรณีที่ 2
หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
ไม่ต้องหยุดยา
ควรใช้สูตรยาที่ทําให้ Viral load ลดลงจนวัด ไม่ได้จะดีที่สุด
หากพบว่า viral load มากกว่า 1000 copies / ml
ทั้งที่กินยาสม่ำเสมอนาน 6 เดือนให้ส่งปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทันที UIS 18- 20 druhumin
การให้ยาต้านไวรัสขณะเจ็บครรภ์คลอด
ให้เพิ่ม AZT 300 mg ที่ก็ 3 ชม หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียวไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม
ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะทําให้หญิงที่กินยา LPN / r หรือ EFV อยู่เกิด severe vasoconstriction ได้
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
ให้ยาหลังคลอดต่อทุกรายที่สมัครใจ มีความพร้อม
CD4 <500 cells / mm 3
คู่มีผลเลือดลบหรือ ไม่ทราบผลเลือดคู่
มีการติดเชื้อร่วมเช่น วัณโรคไวรัส ตับอักเสบบีไวรัส ตับอักเสบซี
การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
AZT ขนาด 4 mg / kg / dose ทุก 12 ซม ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้ความเห็นใจและกำลังใจผู้ป่วยและแนะนำการปฏิบัติตัวในการรักษาสุขภาพตนเองและป้องกันการแพร่เชื้อ
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตรอาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
ให้ AZT โดยให้ AZT 300 มก รับประทานวันละ 2 ครั้ง ตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์จนกระทั่งคลอด
ระยะคลอด
หลีกเลี่ยงการทําให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทําคลอดโดยยึดหลัก
Universal precaution
ระยะหลังคลอด
ให้อยู่ในห้องแยก
เน้นให้มาตรวจหลังคลอดตามกําหนดและแนะนําวิธีการคุมกําเนิด
ในทารกหลังคลอดให้ NPV 2 มก / กก ทันทีและให้ AZT 2 มก / กก /วัน และติดตามตรวจหาการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
งดให้นมบุตร
7.การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัว 2-7 วัน ไข้ ปวดศีรษะ
ออกผื่นที่ลําตัวและแขนขา
ปวดข้อปวดในกระบอกตา
เยื่อบุตาอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็ก แต่กําเนิดของทารกในครรภ์
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัดและทําลายแหล่งเพาะพันธุ์
ยุงลายที่เป็นพาหะมักออกหากินเวลากลางวัน
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโรคโดยตรง
รักษาตามอาการ
การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการปวดลดไข้
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน หรือ ยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs):
3.ซิฟลิส (syphilis)
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
ไม่เฉพาะเจาะจง
VDRL
RPR
เฉพาะเจาะจง
FTA-ABS
การส่งตรวจน้ำไขสันหลง
อาการและอาการแสดง
ซิฟิลิสทุติยภูมิ
ผื่นช่วงหลัง 2-3 สัปดาห์และผลริมแข็งหายแล้ว
ผื่นลักษณะสีแดงน้ำตาลไม่คัน
มีไข้ตาๆ ปวดตามข้อ
ต่อมนาเหลืองโต ผมร่วง
ซิฟิลิสปฐมภูมิ
ขอบนูนไม่เจ็บ
หลังรับเชื้อ 10-90 วัน
แผลริมแข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศริมฝีปาก
ต่อมน้ำเหลืองโตกดไม่เจ็บ
ซิฟิลิสระยะตติยภูมิ
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี
เชื้อทําลายอวัยวะภายใน เช่น หัวใจและหลอดเลือดสมอง ตาบอด
ซิฟิลิสระยะแฝง
หลังได้รับเชื้อ 2-30 ปี
ไม่มีอาการ
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้ง
ทารกตาบอด
การคลอดก่อนกําหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกบวมน้ำ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ควรอธิบายให้เห็นความสําคัญของการตรวจคัดกรองซิฟลิสขณะตั้ง ครรภ์โดยการแรกเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรกและตรวจซ้ำอีกครั้งในไตรมาสที่ 3
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนําการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศและการป้องกันโรคโดยการสวมถุงยาง
ให้การปรึกษาและดูแลทางด้านจิตใจเปิดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึก
แนะนําให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลักUniversalprecaution
และป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว และเจาะเลือดจาก สายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟลิส
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมบุตรได้ตามปกติล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสทารก
หัดเยอรมัน (Rubella)
การวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกายมีผื่นขึ้น
การตรวจน้ำลายและการตรวจเลือด
ELISA
IgM
IgG
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการ
ไข้ต่ำ ปวดศีรษะ
ตาแดง คออักเสบ
ปวดกล้ามเนื้อ
ก่อนออกผื่น 2 วัน หลังมีไข้จะพบKoplik'sspot ระยะออกผื่น หลังมีไข้ 3-4 วัน จะมีผื่นแดงเล็กๆ มีตุ่มนูน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิด
ติดเชื้อในช่วง GA 3 wks.
หูหนวก
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
การรักษาแบบประคับประคอง
แนะนําพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนําดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนํารับประทานยา paracetamal ตามแผนการรักษา
ถ้าตรวจพบในระยะ 3 เดือนแรกแพทย์จะให้คำแนะนํายุติการตั้งครรภ์
1.ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
การวินิจฉัย
HBsAg = การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ
HBsAG = ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัสตับอักเสบบี
Anti HBc = เป็นภูมิคุ้มกันบอกถึงเคยติดเชื้อไวรัส
Anti HBc-IgM = พบในตับอักเสบเฉียบพลัน
Anti HBc-IgG = พบทัง ตับอักเสบเฉียบพลัน, เรื้อรังแม้แต่ผู้ที่ตรวจไม่พบเชื้อแล้ว
Anti HBe = พบหลังตรวจไม่พบ HBeAG แล้ว
Anti HBs = พบหลังตรวจไม่พบ HBsAG ในเลือดแล้วหรือเป็นภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการของการติดเชื้อ
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
ปัสสาวะสีเข้ม
อุจจาระสีซีด
ปวดข้อ
ในรายที่รุนแรงมีอาการตัวเหลืองและตาเหลือง
ระยะฟักตัว 60-150 วัน โดยเฉลี่ยหลัง 90 วัน
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูง
มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
พบอัตราการชักนําการคลอด
อัตราการผ่าตัดคลอดเพิ่มขึ้น
ต่อทารก
การติดเชื้อจากมารดาไปสู่ทารก
การคลอดก่อนกําหนด
การเกิดน้ำเดินก่อนเจ็บครรภ์คลอด
การแท้งและการตายคลอด
แนวทางการรักษา
1.การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจาก มารดาสู่ทารกระยะก่อนคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการ
พิจารณาให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg
ผลเป็นลบฝากครรภ์ปกติ
ผลเป็นบวกให้เริ่มยาต้านไวรัสในไตรมาสสุดท้าย GA 28-32 Wks.
Lamivudine 100 mg
Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีจากมารดาสู่ทารกระยะหลังคลอด
ด้านมารดา
ควรรับประทานยา Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg วัน ละ 1 เม็ดจนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
การดูแลทารก
Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) 400IU ขนาด 0.5 ml IM หลังคลอดทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด ภายใน 7 วันอให้ซ้ำ 1 เดือนและ 6 เดือน
Hepatitis B Vaccine ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด ขนาด 0.5 ml IM จากนั้นฉีดต่อเมื่ออายุครบ 1,2,4 และ 6 เดือน
บทบาทพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การคัดกรองโดยการซักประวัติระวัติครอบครัวเน้นหากลุ่มเสี่ยงของการติดเชื้อ เช่น จํานวนครั้งการแต่งงานจํานวนคู่นอนการใช้สารเสพติด
การส่งตรวจเลือดหา HBsAg โดยมีการให้คำปรึกษาก่อนและหลังการเจาะเลือดในรายทีผลเลือด HBsAg ให้ผลบวกจะต้องให้คำแนะนําการปฏิบัติตัว
ให้คำแนะนําในการปฏิบัติตัวกรณีที่มีการติดเชื้อ เพื่อป้องกันการการแพร่กระจายและความรุนแรงของโรค
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสเลือดสารคัดหลั่ง โดยใช้หลัก Universal Precaution ทั้งในระยะรอคลอดและขณะคลอด
ดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution ในการจับต้องหรืออุ้มทารกการดูดมูกจากปากและจมูกอย่างรวดเร็วและสบู่และเช็ดซ้ำด้วยแอลกอฮอล์
ดูแลให้การคลอดดําเนินไปตามปกติ ได้แก่ ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดไม่กระตุ้นการคลอดจนเกินไปประเมินเสียงหัวใจทารกดูแลความสุขสบายทั่วไป
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนําในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
ประเมินภาวะหัวนมแตกและส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน (exclusive breastfeeding)
แนะนําการคุมกําเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
แนะนําการปรับตัวด้านจิตสังคมการผ่อนคลายความเครียด
นางสาวธิดารัตน์ ภูพานทอง รหัส 602701034