Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnata)
สาเหตุ
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Human papilloma virus (HPV) ชนิดที่ทำให้เกิดหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศ ส่วนใหญ่เป็น type 6 และ 11
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
สังเกตเห็นรอยโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยทำ pap smear พบการเปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis
การซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยง
การสัมผัสผู้ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
คล้ายดอกกะหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
หูดขึ้นรอบๆทวารหนัก และในทวารหนัก
การรักษา
จี้ด้วย Trichloacetic acid จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
การพยาบาล
ดูเเลให้ได้รักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย Trichloacetic acid จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การออกกำลังกายที่พอเหมาะ ลดภาวะเครียด
โรคเอดส์ (Acquired immunodefiency syndrome)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ต่อมน้ำเหลืองโต
น้ำหนักลด
มีไข้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme-linked Immunossorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันตัวด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB)และ Immunofluorescent assay (IFA) ถ้าให้ผลบวกเป็นการแน่นอนว่าผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์
การซักประวัติ
ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
อาการทางคลินิก
ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผลCD4ต่ำกว่า 500-200cm
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆนานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดไร้เชื้อร่วมด้วย
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
การติดต่อ
2.จากมารดาสู่ทารก(vertical transmission)โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่ได้รับการรักษา ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 15-25%
3.ทางกระแสเลือด จากการรับเลือดหรือส่นประกอบของเลือดที่มีเชื้อเอดส์ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
1.การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
การให้ยาจ้านไวรัสหลังคลอด
การพยาบาล
ระยะคลอด
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่ว ทำคลอดโดยยึด Universal precaution
ระยะหลังคลอด
จัดให้อยู่ในห้องแยก
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
ทารกคลอดให้ NPV 2 มก. ทันที และให้ AZT 2 มก./วัน และติดตามการติดเชื้อของทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศ์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้ (PCP)
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ไข้หวัดซิกกา
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัวซิกา (Zika virus)
ยุงลายเป็นพาหะสำคัญของโรค
อาการและอาการแสดง
ไข้
ปวดข้อ
ออกผื่นที่ลำตัว และเเขนขา
ปวดในกระบอกตา เยื่อบุตาอักเสบ
ปวดศีรษะ
การตรวจวินิจฉัย
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG
วิธีตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมจากเชื้อด้วยวิธี RT-PCR ภายใน 1-3 วันเมื่อเริ่มแสดงอาการ
การซักประวัติ
อาการ
การเดินทาง
ลักษณะที่อยู่
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
ติดตามอัลตร้าซาวการเจริญเติบโตของทารกทุก 4 สัปดาห์
การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อเเรกเกิด และครั้งที่2 เมื่ออายุ 24 ชั่วโมง
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
การให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตร ต่อวัน
การให้ยาพาราเซตามอล เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ห้ามรับประทานยาแอสไพริน หรือยากลุ่มลดอาการอักเสบ