Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (Community Assessment), นางสาวเสาวนิตย์…
ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
(Community Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ข้อมูลที่นำมาใช้
ข้อมูลด้านสุขภาพ
อัตราเกิด อัตราตาย
อัตราอุบัติการณ์ อัตราป่วยของโรคต่างๆ
ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ การตรวจคัดกรองโรค
ข้อมูลประชากร
อายุ เพศ สถานะภาพสมรส
การศึกษา อาชีพ รายได้
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
ขยะ น้ำ ส้วม
พาหะนำโรค เช่น ยุงลาย
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
แหล่งประโยชน์ชุมชน วิถีชุมชน
ข้อมูลทางเศรษฐกิจ สังคม ผู้นำชุมชน
ประวัติชุมชน ที่ตั้งอาณาเขต สภาพภูมิประเทศ
ข้อมูลด้านการบริการสุขภาพ
หมอพื้นบ้าน การใช้สมุนไพร
ระบบบริการสุขภาพ คุณภาพ คลินิก ร้านขายยา
เครื่องมือ/ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Methods/Tools)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวัดและประเมิน(Measurement)>>BP, blood sugar, waist circumference, BMI, ADL
การทดสอบ (Test)>>Timed up and go test, Child development
การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)>>การรับประทานอาหาร การป้องกันตัวไม่ให้ติด COVID 19
การสัมภาษณ์/สัมภาษณ์เชิงลึก
การสำรวจ (Survey)>>สำมะโนประชากร
การสนทนากลุ่ม
การสังเกต (Observation)>>พฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
เครื่องมือ
ผังเครือญาติ
โครงสร้างและองค์กรชุมชน
ความสัมพันธ์ทางสังคม
ความสัมพันธ์ทางการเมือง
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
ประวัติชีวิตบุคคลที่น่าสนใจ
ปฏิทินชุมชน
วิถีทางวัฒนธรรม/สังคม
วิถีทางเศรษฐกิจ
ประวัติศาสตร์ชุมชน
ระบบสุขภาพชุมชน
องค์กรด้านสุขภาพ ได้แก่ หน่วยบริการปฐมภูมิ อสม. แพทย์พื้นบ้าน แพทย์แผนไทย
หน่วยงานอื่นๆ ได้แก่ โรงเรียน วัด กองทุนสุขภาพตำบล
อื่น ๆ ได้แก่ ภาคเอกชน องค์กรเอกชน
องค์กรในชุมชน ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาสังคม ผู้นำชุมชน
แผนที่เดินดิน
แบ่งเป็น
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)
ข้อดี>>ได้ข้อมูลครบตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการทันสมัย
ข้อเสีย>>เสียเวลา งบประมาณ
รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
ข้อดี>>ไม่สิ้นเปลือง ก าลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย>>อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว
การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ประชากรทั้งหมด (Census)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling) เช่น การใช้การสุ่มแบบง่าย หรือการสุ่มแบบเป็นระบบ
การวิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis)
เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วควรดำเนินการดังนี้
จัดประเภทข้อมูล
ลักษณะทั่วไปของชุมชน เช่น ข้อมูลประชากร ที่ตั้งชุมชน เศรษฐกิจ สังคม อาชีพ
ข้อมูลสุขภาพอนามัย เช่น อัตราเกิด อัตราตาย อัตราป่วย แบบแผนการเกิดโรค
ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโรค เช่น การได้รับภูมิคุ้มกันโรค พฤติกรรมสุขภาพ ภาวะโภชนาการ
การแจกแจงข้อมูล การใช้การแจงนับ (tally)หรือจะใช้การวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์
ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ของข้อมูล
รวมจำนวนการแจงนับ(tally)ออกมาเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม แล้วนำมาคำนวณเป็นค่าร้อยละหรือค่าสถิติชีพ เช่น อัตรา ค่าเฉลี่ย เพื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์
วิธีการคำนวณ
อัตราความชุก >> (จำนวนผู้ป่วยใหม่+เก่า /ปชก กลุ่มเสี่ยง(ปชก กลางปี)) *1000
อัตราป่วยตาย >> จำนวนผู้ป่วยตายด้วยโรคนั้น/จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคนั้นทั้งหมด * K
อัตราอุบัติการณ์ >> (จำนวนผู้ป่วยใหม่/ปชก กลุ่มเสี่ยง(ปชก กลางปี)) *1000
อัตราตาย >> จำนวนคนตาย/ปชก กลางปี *K
อัตราส่วน >> a/a+b หรือ a/b
อัตราตายจำแนกตามสาเหตุ >> จำนวนคนตายด้วยโรคนั้น/ปชก กลางปี* K
อัตรา >> a/(a+b) *K
อัตราป่ วยละลอกแรก >> จ านวนผู้ป่ วยใหม่ /จ านวนผู้มีภูมิไว * K
ร้อยละ/สัดส่วน/Attract rate >> x/y
k หรือ (a/a+b)
100
อัตราป่วยละลอกสอง >> จำนวนผู้ป่วยที่ไปสัมผัสผู้ป่วยกลุ่มแรก/(จำนวนผู้มีภูมิไว – จำนวนผู้ป่วยละลอกแรก) *k
ประชากรกลางปี >> (ปชกทั้งหมด ณ 31 ธค 61 + ปชก ณ 31 ธค 62)/2
อัตราเด็กเกิดไร้ชีพ >> จำนวนเด็กเกิดไร้ชีพในระหว่างปี x 1,000 จำนวนเด็กเกิดมีชีพ และเด็กเกิดไร้ชีพในปีเดียวกัน
ชนิดข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ
Descriptive Stat.
รายได้>>Percentage, Mean and SD.
ข้อมูลด้านสุขภาพ>>อัตราเกิด อัตราตาย อัตราความชุก อัตราอุบัติการณ์
ข้อมูลทั่วไปส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ
Inferential Stat.: T-Test, Chi-Square etc.
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ( Content Analysis)
การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation)
วิธีการนำเสนอ แบ่งเป็น
การนำเสนอโดยปราศจากแบบแผน
การนำเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง
การนำเสนอเป็นบทความ
การนำเสนอโดยมีแบบแผน
การนำเสนอด้วยกราฟ
ฮีสโตรแกรม
1 more item...
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
กราฟเส้น
2 more items...
การนำเสนอด้วยแผนภูมิ
แผนภูมิภาพ
แผนภูมิทางภูมิศาสตร์
แผนภูมิกงหรือวงกลม
1 more item...
แผนภูมิเพื่อจุดประสงค์พิเศษ
2 more items...
แผนภูมิแท่ง
5 more items...
การนำเสนอเป็นตาราง
ตารางสองลักษณะ(ตารางสองทาง)
ตารางซับซ้อน
ตารางลักษณะเดียว(ตารางทางเดียว)
เทคนิคการนำเสนอข้อมูล
นำเสนอข้อมูลให้เห็นลักษณะของโรคหรือปัญหาสุขภาพอนามัยตามลักษณะต่างๆ
ดัชนีอนามัย (Health Indicators) เช่น อัตราอุบัติการณ์ (Incidence rate) อัตราความชุก (Prevalence Rate)
การกระจายตาม People Time Place
สถิติชีพ (Vital Statistics) ต่างๆ เช่น อัตราเกิด อัตราตาย
วัตถุประสงค์ของการนำเสนอข้อมูลสถิติ
ช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบผลอย่างถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์
เตรียมความพร้อมสำหรับการวิเคราะห์และแปลความหมายต่อไป
จัดข้อมูลต่างๆให้อยู่ในรูปแบบที่เห็นและเข้าใจง่าย
นางสาวเสาวนิตย์ สมบูรณ์จิตฤดี เลขที่70